Publication: Gastric acid inhibition of Capsicum extract in isolated mouse whole stomach
Issued Date
2006-06
Resource Type
Language
eng
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Faculty of Pharmacy Mahidol University
Bibliographic Citation
Thai Journal of Phytopharmacy. Vol.13, No.1 (2006), 17-26
Suggested Citation
Utaipat A, Chareonsuk S, Thongyen A, Thirawarapan SS, Suvitayavat W Gastric acid inhibition of Capsicum extract in isolated mouse whole stomach. Thai Journal of Phytopharmacy. Vol.13, No.1 (2006), 17-26. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/3263
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Gastric acid inhibition of Capsicum extract in isolated mouse whole stomach
Alternative Title(s)
การยับยั้งการหลั่งกรดของสารสกัดพริกในกระเพาะอาหาร หนูถีบจักรที่แยกจากตัว
Abstract
The purpose of this study was to determine the effect of capsicum extract on gastric acid
secretion induced by histamine and bethanechol using the isolated mouse stomach model. Gastric acid
secretions were collected every 10 minutes. After collecting the first sample, capsicum extract was
applied to the serosal solution in the organ bath. 20 minutes after applying capsicum extract, 5 μM
histamine or 100 μM bethanechol was applied. This study has found that capsicum extract could
reduce gastric acid secretion induced by histamine. Capsicum extract at concentrations of 8 and 16 μg/
ml significantly reduced gastric acid secretion, 8 μg/ml producing the greatest effect on reduction of
cumulative acid secretion. The inhibitory effect of capsicum extract (8 μg/ml) on acid secretion induced
by histamine was reduced in the presence of indomethacin (0.1 μM), suggesting a role of prostaglandins
in the capsicum response. In contrast to histamine-induced secretion, 8 μg/ml capsicum
extract did not decrease gastric acid secretion induced by bethanechol. In summary, capsicum extract
at a concentration of 8 μg/ml reduced gastric acid secretion induced by histamine, partially reduced this
secretion through prostaglandins but had no effect on induction of gastric secretion by bethanechol.
การศึกษาผลของสารสกัดพริกต่อการหลั่งกรดของกระเพาะอาหารหนูถีบจักรที่แยกออกจากตัวที่ถูก กระตุ้นด้วยฮีสตามีน และเบทาเนคอล โดยเก็บกรดที่หลั่งออกมาทุก 10 นาที หลังจากเก็บตัวอย่างแรกแล้ว จึงให้สารสกัดพริกลงในสารละลายทางด้านซีโรซัล หลังจากใส่สารสกัดพริก 20 นาที จึงให้ตัวกระตุ้น (ฮีสตามีน ที่ความเข้มข้น 5 ไมโครโมลาร์ หรือเบทาเนคอลที่ความเข้มข้น 100 ไมโครโมลาร์) ผลการศึกษาพบว่าสาร สกัดพริกมีผลยับยั้งการหลั่งกรดของกระเพาะอาหารหนูถีบจักรที่แยกออกจากตัวที่กระตุ้นด้วยฮีสตามีน โดยสารสกัดพริกความเข้มข้น 8 และ 16 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร มีผลลดอัตราการหลั่งกรดและลดปริมาณกรด รวมของกระเพาะอาหารหนูถีบจักรที่แยกออกจากตัวที่กระตุ้นด้วยฮีสตามีนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดย สารสกัดพริกความเข้มข้น 8 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร มีผลลดการหลั่งกรดมากที่สุด ในการศึกษาการหลั่งกรดของ กระเพาะอาหารหนูถีบจักรที่แยกออกจากตัวที่กระตุ้นด้วยฮีสตามีน เมื่อมีอินโดเมทาซิน ความเข้มข้น 0.1 ไมโครโมลาร์ พบว่าผลของสารสกัดพริกความเข้มข้น 8 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร ในการลดการหลั่งกรดที่กระตุ้น ด้วยฮีสตามีนลดลง ส่วนการศึกษาการหลั่งกรดของกระเพาะอาหารหนูถีบจักรที่แยกออกจากตัวที่กระตุ้นด้วย เบทาเนคอล พบว่าสารสกัดพริกความเข้มข้น 8 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร ไม่มีผลลดการหลั่งกรดที่กระตุ้นด้วย เบทาเนคอล การศึกษานี้แสดงให้เห็นว่า สารสกัดพริกความเข้มข้น 8 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร มีผลลดการหลั่ง กรดที่กระตุ้นด้วยฮีสตามีน โดยอาจมีผลบางส่วนผ่านการกระตุ้นพรอสตาแกลนดิน แต่ไม่มีผลลดการหลั่งกรด ที่กระตุ้นด้วยเบทาเนคอล
การศึกษาผลของสารสกัดพริกต่อการหลั่งกรดของกระเพาะอาหารหนูถีบจักรที่แยกออกจากตัวที่ถูก กระตุ้นด้วยฮีสตามีน และเบทาเนคอล โดยเก็บกรดที่หลั่งออกมาทุก 10 นาที หลังจากเก็บตัวอย่างแรกแล้ว จึงให้สารสกัดพริกลงในสารละลายทางด้านซีโรซัล หลังจากใส่สารสกัดพริก 20 นาที จึงให้ตัวกระตุ้น (ฮีสตามีน ที่ความเข้มข้น 5 ไมโครโมลาร์ หรือเบทาเนคอลที่ความเข้มข้น 100 ไมโครโมลาร์) ผลการศึกษาพบว่าสาร สกัดพริกมีผลยับยั้งการหลั่งกรดของกระเพาะอาหารหนูถีบจักรที่แยกออกจากตัวที่กระตุ้นด้วยฮีสตามีน โดยสารสกัดพริกความเข้มข้น 8 และ 16 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร มีผลลดอัตราการหลั่งกรดและลดปริมาณกรด รวมของกระเพาะอาหารหนูถีบจักรที่แยกออกจากตัวที่กระตุ้นด้วยฮีสตามีนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดย สารสกัดพริกความเข้มข้น 8 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร มีผลลดการหลั่งกรดมากที่สุด ในการศึกษาการหลั่งกรดของ กระเพาะอาหารหนูถีบจักรที่แยกออกจากตัวที่กระตุ้นด้วยฮีสตามีน เมื่อมีอินโดเมทาซิน ความเข้มข้น 0.1 ไมโครโมลาร์ พบว่าผลของสารสกัดพริกความเข้มข้น 8 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร ในการลดการหลั่งกรดที่กระตุ้น ด้วยฮีสตามีนลดลง ส่วนการศึกษาการหลั่งกรดของกระเพาะอาหารหนูถีบจักรที่แยกออกจากตัวที่กระตุ้นด้วย เบทาเนคอล พบว่าสารสกัดพริกความเข้มข้น 8 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร ไม่มีผลลดการหลั่งกรดที่กระตุ้นด้วย เบทาเนคอล การศึกษานี้แสดงให้เห็นว่า สารสกัดพริกความเข้มข้น 8 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร มีผลลดการหลั่ง กรดที่กระตุ้นด้วยฮีสตามีน โดยอาจมีผลบางส่วนผ่านการกระตุ้นพรอสตาแกลนดิน แต่ไม่มีผลลดการหลั่งกรด ที่กระตุ้นด้วยเบทาเนคอล