Publication: Using of CRFK and HeLa Dual Cell-Culture System to Isolate Canine Distemper Virus
Issued Date
2020
Resource Type
Language
eng
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Faculty of Veterinary Science Mahidol University
Bibliographic Citation
Journal of Applied Animal Science. Vol.14, No.1 (Jan- Jun 2021), 47-60
Suggested Citation
Jarupha Taowan, Pruksa Julapanthong, Wanvisa Surarith, Natthapat Ketchim, Chalisa Mongkolphan, Kridsada Chaichoun Using of CRFK and HeLa Dual Cell-Culture System to Isolate Canine Distemper Virus. Journal of Applied Animal Science. Vol.14, No.1 (Jan- Jun 2021), 47-60. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/63398
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Using of CRFK and HeLa Dual Cell-Culture System to Isolate Canine Distemper Virus
Alternative Title(s)
การใช้เซลล์ CRFK และ HeLa ควบคู่กันเพื่อแยกเชื้อไวรัสไข้หัดสุนัข
Other Contributor(s)
Abstract
Canine distemper virus (CDV) is a common infectious agent that affects respiratory and nervous systems
in canine, pet and wildlife worldwide. The virus isolation using cell culture is one of laboratory diagnostic
methods for detection of virus infections. Many different types of cultured cells can be used for isolation of
distemper virus, which provides the different outcome. This study aimed to evaluate the efficacy of dual cell culture system, Crandell-Rees feline kidney (CRFK) and HeLa cells for virus isolation. A total of 13 clinical
specimens were taken by nasal and oropharynx swab from dogs with clinical signs compatible with CDV
infection. These specimens were positively confirmed CDV by using Reverse transcriptase - polymerase chain
reaction (RT-PCR) for viral genome detection. The CDV RT-PCR positive specimens were then taken to isolate
in both cell-lines for five passages, and were confirmed by RT-PCR again. By using CRFK and HeLa cells, the
successful viral isolation with CDV positive specimens was recorded at 7/13 (53.84%) in CRFK and 6/13 (46.15%) in HeLa cells, respectively. The dual cell-culture system showed an increase of the successful isolation at 8/13 (61.53%). Our results suggested that the application of dial cell-culture system was more effective than using single cell-culture for isolation of canine distemper virus.
เชื้อไวรัสไข้หัดสุนัข (canine distemper; CDV) เป็นเชื้อที่พบก่อโรคได้บ่อยต่อระบบทางเดินหายใจและระบบประสาทในสุนัข สัตว์เลี้ยงและสัตว์ป่าทั่วโลก การแยกไวรัสโดยใช้เซลล์เพาะเลี้ยงเป็นหนึ่งในวิธีการตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการเพื่อตรวจหาการติดเชื้อไวรัส เซลล์เพาะเลี้ยงหลายประเภทสามารถใช้ในการแยกไวรัสไข้หัดสุนัขซึ่งให้ผลลัพธ์ที่แตกต่างกัน การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อปะเมินประสิทธิภาพของระบบการเพาะเลี้ยงเซลล์คู่โดยใช้เซลล์ Crandell-Rees feline kidney (CRFK) และเซลล์ HeLa สำหรับการแยกเชื้อไวรัส ในการทดลองนี้ใช้ตัวอย่างทางคลินิกทั้งหมด 13 ตัวอย่าง ถูกนำมาโดยการป้ายโพรงจมูก (nasal swab) และคอหอย (oropharynx) จากสุนัขที่มีอาการทางคลินิกที่เข้ากันได้กับการติดเชื้อไข้หัดสุนัข ตัวอย่างเหล่านี้ดีรับการตรวจยืนยันผลบวกของไวรัสไข้หัดสุนัขโดยใช้ปฏิกิริยาลูกโช่โพลีเมอเรสแบบย้อนกลับ ((RT-PCR) สำหรับการตรวจหาจีโนมของไวรัส จากนั้นตัวอย่างที่ให้ผลบวก ถูกนำไปแยกเชื้อในเซลล์ทั้งสองชนิดเป็นจำนวน 5 รอบ (passage) โดยแต่ละรอบได้รับการตรวจยืนยันโดย RT-PCR อีกครั้ง จากการใช้เซลล์ CRFK และ HeLa แยกเชื้อไวรัสไข้หัดสุนัข เมื่อใช้เซลล์ CRFK ชนิดเดียวมีผลสำเร็จของการแยกเชื้อไวรัสจำนวน 7 ตัวอย่างจาก13 ตัวอย่าง (ร้อยละ 53.84) เมื่อใช้เซลล์ HeLa ชนิดเดียวมีผลสำเร็จของการแยกเชื้อไวรัสจำนวน 6 ตัวอย่าง จาก 13 ตัวอย่าง(ร้อยละ 46.15) ตามลำดับ และเมื่อใช้ระบบการเพาะเลี้ยงเซลล์คู่ พบว่า ผลสำเร็จของการแยกเชื้อไวรัสจำนวนเพิ่มขึ้นเป็น 8 ตัวอย่างจาก 13 ตัวอย่าง (ร้อยละ 61.53) ผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่าการประยุกต์ใช้ระบบการเพาะเลี้ยงเซลล์คู่เพื่อแยกเชื้อไวรัสสุนัขในสุนัขมีประสิทธิภาพมากกว่าการใช้การเพาะเลี้ยงเซลล์เดียว
เชื้อไวรัสไข้หัดสุนัข (canine distemper; CDV) เป็นเชื้อที่พบก่อโรคได้บ่อยต่อระบบทางเดินหายใจและระบบประสาทในสุนัข สัตว์เลี้ยงและสัตว์ป่าทั่วโลก การแยกไวรัสโดยใช้เซลล์เพาะเลี้ยงเป็นหนึ่งในวิธีการตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการเพื่อตรวจหาการติดเชื้อไวรัส เซลล์เพาะเลี้ยงหลายประเภทสามารถใช้ในการแยกไวรัสไข้หัดสุนัขซึ่งให้ผลลัพธ์ที่แตกต่างกัน การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อปะเมินประสิทธิภาพของระบบการเพาะเลี้ยงเซลล์คู่โดยใช้เซลล์ Crandell-Rees feline kidney (CRFK) และเซลล์ HeLa สำหรับการแยกเชื้อไวรัส ในการทดลองนี้ใช้ตัวอย่างทางคลินิกทั้งหมด 13 ตัวอย่าง ถูกนำมาโดยการป้ายโพรงจมูก (nasal swab) และคอหอย (oropharynx) จากสุนัขที่มีอาการทางคลินิกที่เข้ากันได้กับการติดเชื้อไข้หัดสุนัข ตัวอย่างเหล่านี้ดีรับการตรวจยืนยันผลบวกของไวรัสไข้หัดสุนัขโดยใช้ปฏิกิริยาลูกโช่โพลีเมอเรสแบบย้อนกลับ ((RT-PCR) สำหรับการตรวจหาจีโนมของไวรัส จากนั้นตัวอย่างที่ให้ผลบวก ถูกนำไปแยกเชื้อในเซลล์ทั้งสองชนิดเป็นจำนวน 5 รอบ (passage) โดยแต่ละรอบได้รับการตรวจยืนยันโดย RT-PCR อีกครั้ง จากการใช้เซลล์ CRFK และ HeLa แยกเชื้อไวรัสไข้หัดสุนัข เมื่อใช้เซลล์ CRFK ชนิดเดียวมีผลสำเร็จของการแยกเชื้อไวรัสจำนวน 7 ตัวอย่างจาก13 ตัวอย่าง (ร้อยละ 53.84) เมื่อใช้เซลล์ HeLa ชนิดเดียวมีผลสำเร็จของการแยกเชื้อไวรัสจำนวน 6 ตัวอย่าง จาก 13 ตัวอย่าง(ร้อยละ 46.15) ตามลำดับ และเมื่อใช้ระบบการเพาะเลี้ยงเซลล์คู่ พบว่า ผลสำเร็จของการแยกเชื้อไวรัสจำนวนเพิ่มขึ้นเป็น 8 ตัวอย่างจาก 13 ตัวอย่าง (ร้อยละ 61.53) ผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่าการประยุกต์ใช้ระบบการเพาะเลี้ยงเซลล์คู่เพื่อแยกเชื้อไวรัสสุนัขในสุนัขมีประสิทธิภาพมากกว่าการใช้การเพาะเลี้ยงเซลล์เดียว