Publication:
ความทุกข์ระดับบุคคลหรือความทุกข์ทางสังคม : การกลายเป็นผู้พิการถาวรจากการทำงานของแรงงานภาคอุตสาหกรรม

dc.contributor.authorวิทยา ไชยดีen_US
dc.contributor.authorขวัญจิต ศศิวงศาโรจน์en_US
dc.contributor.authorVithaya Chaideeen_US
dc.contributor.authorKwanchit Sasiwongsarojen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชียen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบทen_US
dc.date.accessioned2021-08-25T10:13:36Z
dc.date.available2021-08-25T10:13:36Z
dc.date.created2564-08-25
dc.date.issued2564
dc.description.abstractที่ผ่านมาการประสบเหตุจากการทำงานมักถูกทำให้เป็นเรื่องปกติ (normalization) ด้วยคำว่า “อุบัติเหตุ” ที่ถูกอธิบายว่าเป็น “ความประมาท” ของบุคคล เพื่อเติมเต็มมุมมองทางสังคม บทความนี้จึงได้ขยายการค้นหาคำตอบผ่านแนวคิด “ความทุกข์ทางสังคม” เพื่อนำเสนอให้เห็นกลไกอำนาจในเชิงโครงสร้างของงานภาคอุตสาหกรรมที่มีส่วนในการผลิตความทุกข์ให้แก่แรงงาน ผ่านการบอกเล่าประสบการณ์ของแรงงานชาย จำนวน 10 ราย ผลการวิจัยพบว่า แรงงานที่ประสบเหตุมาจากโรงงานขนาดกลางและขนาดเล็กที่ตอบสนองแรงผลักทางเศรษฐกิจเป็นตัวนำ การละเลยมาตรการด้านความปลอดภัยของสถานประกอบการและช่องโหว่ในการกำกับดูแลจากภาครัฐ ทำให้แรงงานต้องเผชิญกับสภาพแวดล้อมที่เสี่ยงอันตรายและขาดความรู้เกี่ยวกับระบบสวัสดิการและกฎหมายแรงงาน นอกจากนี้ ยังพบว่าการทำงานล่วงเวลาที่เกินกว่ากฎหมายกำหนดเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้แรงงานประสบเหตุจากความล้าสะสม ซึ่งระบบการดูแลแรงงานภายหลังจากการประสบเหตุยังคงอยู่ภายใต้อำนาจของนายทุน ทำให้เสียงของแรงงานถูกทำให้เงียบหายและตกอยู่ในสถานะไร้ที่พึ่งพิงen_US
dc.description.abstractThe term “accident” has always been used, as a normalization tactic, to rationalize the view that work injuries result from individual “carelessness”. To fulfil and provide a more social perspective in this matter, this article incorporated the “social suffering” framework in investigating the issue. The article aimed to manifest the power structure in the industrial sector, which partly gives rise to workers’ suffering. After having 10 male workers recount their experiences of work injuries, the result revealed that most injuries came from medium - and small-size factories, which primarily respond to the demands of the economic push. The failure of businesses to strictly enforce safety measures, along with the government’s lack of industry supervision in this matter has put workers in perilous working environments and made them unaware of workers’ welfare system as well as labor legislation. Moreover, working overtime, which exceeds the legal limit, was a significant factor leading workers to sustain work injuries as a result of accumulated tiredness. The system of taking care of those affected by work injuries remains under the control of entrepreneurs, which has silenced the workers’ voices and put them in helpless situations.en_US
dc.identifier.citationวารสารภาษาและวัฒนธรรม. ปีที่ 40, ฉบับที่ 1 (ม.ค. - มิ.ย. 2564), 32-52en_US
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/63215
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderสถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectsocial sufferingen_US
dc.subjectincapacity from work injuryen_US
dc.subjectindustrial sectoren_US
dc.subjectworkersen_US
dc.subjectwork injuryen_US
dc.subjectความทุกข์ทางสังคมen_US
dc.subjectทุพพลภาพจากการทำงานen_US
dc.subjectภาคอุตสาหกรรมen_US
dc.subjectแรงงานen_US
dc.subjectวารสารภาษาและวัฒนธรรมen_US
dc.subjectJournal of Language and Cultureen_US
dc.titleความทุกข์ระดับบุคคลหรือความทุกข์ทางสังคม : การกลายเป็นผู้พิการถาวรจากการทำงานของแรงงานภาคอุตสาหกรรมen_US
dc.title.alternativePersonal suffering or social suffering: The experiences of workers in the industrial sector who have a permanent incapacity from work injuryen_US
dc.typeArticleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://so03.tci-thaijo.org/index.php/JLC/article/view/254137

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
lc-ar-vithaya-2564.pdf
Size:
273.69 KB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections