Publication:
การจัดการความหลากหลายทางวัฒนธรรม : กรณีศึกษาวัฒนธรรมการทำงานของแรงงานพม่าในบริษัทไทยในประเทศไทย

dc.contributor.authorเรณู เหมือนจันทร์เชยen_US
dc.contributor.authorRenu Muenjanchoeyen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชียen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบทen_US
dc.date.accessioned2020-06-11T05:16:25Z
dc.date.available2020-06-11T05:16:25Z
dc.date.created2563-06-11
dc.date.issued2560
dc.description.abstractบทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอผลการนำแนวคิด “การแตกหักขาดตอน” ระหว่างเศรษฐกิจวัฒนธรรมและการเมืองของอรชุนอัปปาดูไรและแนวคิด“กระบวนการเรียนรู้” และ “กระบวนการผัสสะ” มาศึกษาวิเคราะห์สังเคราะห์พบว่าลักษณะการจัดการความหลากหลายทางวัฒนธรรมการทำงานของแรงงานพม่าในบริษัทไทยที่เกิดขึ้นเป็นอยู่ในพื้นที่ศึกษาเงื่อนไขและเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องส่วนใหญ่เกิดขึ้นเป็นไปตามกระแสโลกาภิวัตน์ที่เคลื่อนผ่านสังคมพม่าและสังคมไทยทำให้เกิดการแตกหักขาดตอนทางเศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรมขึ้น ชาวพม่าส่วนหนึ่งอพยพสู่ประเทศไทยเพื่อแสวงหาโอกาสทางเศรษฐกิจที่ดีกว่าส่วนคนไทยกระแสโลกาภิวัตน์ได้กระตุ้นให้ดิ้นรนขวนขวายเพื่อเพิ่มโอกาสทางเศรษฐกิจจึงดึงดูดแรงงานข้ามชาติชาวพม่าเข้ามานำไปสู่ปัญหาการจัดการวัฒนธรรมการทำงานของแรงงานพม่าที่เกิดขึ้นในพื้นที่ศึกษาซึ่งผลการวิเคราะห์พบว่าลักษณะการจัดการแรงงานเกิดขึ้นปราศจากการเรียนรู้เพื่อการรู้เขา-รู้เราที่นำไปสู่การอยู่ร่วมกันมีแต่การจัดการเรียนรู้เพื่อเข้าถึงประโยชน์ของตนลักษณะดังกล่าวเกิดขึ้นเป็นอยู่ทุกขั้นตอนในการจัดการวัฒนธรรมการทำงานของแรงงานข้ามชาติชาวพม่าทั้งฝ่ายนายจ้างและฝ่ายแรงงานข้ามชาติเริ่มตั้งแต่เมื่อแรงงานเข้าเมืองมาจะต้องจ่ายค่าผ่านทางอย่างซ้ำซ้อนไปจนกระทั่งทำงานกับนายจ้างที่จ่ายค่าจ้างถูกแต่ต้องการผลงานมากไม่มีสวัสดิการเป็นต้นนอกจากนี้กระบวนการศึกษาภาคสนามตามแนวคิดดังกล่าวเปิดโอกาสให้กลุ่มเป้าหมายใช้กระบวนการเรียนรู้รูปแบบที่เหมาะสมร่วมสร้างสรรค์ความรู้ที่นำไปสู่การรู้เขา-รู้เราได้มากขึ้นen_US
dc.description.abstractThis paper is the result of a quatative research study. It highlights the relationships between the concept of fundamental disjunction between community economy and politics according to Arjun Appadurai’s concept of learning process and sense process in order to study, analyze and synthesize aspects of management of cultural diversity in the multinational corporation, and presents a case study on the working culture of Burmese labourers in the Thai companies in Thailand. The result show that the management characteristics of Burmese working culture are in accordance with globalization in that it mobilizes through Thai and Burmesesociety. This causes disjunction amongst economy, society and culture. Burmese migrates to Thailand seek better opportunities whereas Thais also seek better economic and business opportunities as well. This attracts Burmese laborers to work here. Hence, it raises to the problem of Burmese working culture in the study areas.From the analysis, the management characteristics a demonstrate a lack of awareness of each other’s process ; the learning process is turned to one’s own interests only.These characteristics can be seen at all steps of working culture management,from the Burmese labours themselves to the employers.From the beginning of the process, labours need to pay a levy which is multiplied many times and employers need high productivity but want to pay lower wages with no provision for welfare. The process of field study according to what was mentioned earlier, has widened opportunities for the target group to select an appropriate learning process.The selected method by the target group will lead to each getting to know the other better. They can join in activities such as focus group between employers and employees to find solutions to working culture find solutions to working culture problems and become friends who can live together in peace.en_US
dc.identifier.citationวารสารภาษาและวัฒนธรรม. ปีที่ 36, ฉบับที่ 1 (ม.ค.- มิ.ย. 2560), 49-70en_US
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/56682
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderสถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectการจัดการen_US
dc.subjectความหลากหลายen_US
dc.subjectวัฒนธรรมen_US
dc.subjectแรงงานพม่าen_US
dc.subjectบริษัทไทยen_US
dc.subjectManagingen_US
dc.subjectDiversityen_US
dc.subjectCulturalen_US
dc.subjectBurmese Labours’ Workingen_US
dc.subjectThaicompaniesen_US
dc.subjectวารสารภาษาและวัฒนธรรมen_US
dc.subjectJournal of Language and Cultureen_US
dc.titleการจัดการความหลากหลายทางวัฒนธรรม : กรณีศึกษาวัฒนธรรมการทำงานของแรงงานพม่าในบริษัทไทยในประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeManaging cultural diversity in the multinational corperation : Case studies of Burmese labours’ working culture in the Thai companies in Thailanden_US
dc.typeResearch Articleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://so03.tci-thaijo.org/index.php/JLC/issue/view/9470

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
lc-ar-renu-2560.pdf
Size:
425.77 KB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections