Publication: หนึ่งชาติพันธุ์ สองถิ่นฐาน สามสภาพปรากฏ: โลกแห่งชีวิตของชาวละว้า (ละเวือะ) ณ จังหวัดเชียงใหม่
Issued Date
2556
Resource Type
Language
tha
Rights
มหาวิทยาลัยมหิดล
Rights Holder(s)
สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วารสารภาษาและวัฒนธรรม. ปีที่ 32, ฉบับที่ 1 (ม.ค.- มิ.ย. 2556), 31-46
Suggested Citation
ชิตชยางค์ ยมาภัย, Jitjayang Yamabhai หนึ่งชาติพันธุ์ สองถิ่นฐาน สามสภาพปรากฏ: โลกแห่งชีวิตของชาวละว้า (ละเวือะ) ณ จังหวัดเชียงใหม่. วารสารภาษาและวัฒนธรรม. ปีที่ 32, ฉบับที่ 1 (ม.ค.- มิ.ย. 2556), 31-46. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/55423
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
หนึ่งชาติพันธุ์ สองถิ่นฐาน สามสภาพปรากฏ: โลกแห่งชีวิตของชาวละว้า (ละเวือะ) ณ จังหวัดเชียงใหม่
Alternative Title(s)
One ethnic group, two locales, and three presences: Lifeworld of Lawa in Chiang Mai province
Author(s)
Abstract
บทความเชิงสังเคราะห์นี้ บรรยายถึงโลกแห่งชีวิตของชาวละว้าที่เกิดขึ้นบนถิ่นฐาน 2 แห่ง คือ บนดอยและในเมืองเชียงใหม่ ผู้เขียนใช้วิธีการสังเคราะห์เอกสารตามแนวทางอภิชาติพันธุ์วรรณา เพื่อสร้างข้อสรุปใหม่ จากงานวิชาการ 2 เรื่อง ผู้เขียนเสนอข้อถกเถียงว่าโลกแห่งชีวิตของชาวละว้าได้รับอิทธิพลของการเปลี่ยนแปลงสู่ลักษณะทางสังคมแบบ “ทันสมัยมาก” ชาวละว้าจึงจำเป็นจะต้องดำรงชีวิตอยู่ในทวิวิถี คือ สังคมประเพณีด้วยวิถีชีวิตแบบยังชีพ กับสังคมทันสมัย อันหมายถึง การทำให้สิ่งต่างๆ กลายเป็นสินค้า ระบบทุนนิยมและกลไกการตลาด ที่ได้คืบคลานเข้าครอบคลุมถิ่นฐานบนดอย จนชาวละว้ามิอาจปฏิเสธวิถีดังกล่าวได้ ผลของการเปลี่ยนผ่านเข้าสู่สังคมทันสมัยทำให้ชาวละว้าตกอยู่ในสภาพปรากฏ คือ พอใจ จำใจ และจนใจ แตกต่างกันไปตามความพอประมาณในการดำเนินชีวิตประจำวัน
This synthetic paper describes the lifeworld of Lawa ethnic group living in the high mountains and in the city of Chiang Mai. Using a meta-ethnography approach to synthesize two academic works, I argue that lifeworld of Lawa people is influenced by a social transformation brought about by modernization. Hence, Lawa’s mode of life falls in-between a subsistence economy and a market economy that have spread to Lawa’s environment. This transformation by modernization has affected the Lawa way of life in three aspects: satisfaction, survival and suffering which vary by the degree of moderation in daily life practice.
This synthetic paper describes the lifeworld of Lawa ethnic group living in the high mountains and in the city of Chiang Mai. Using a meta-ethnography approach to synthesize two academic works, I argue that lifeworld of Lawa people is influenced by a social transformation brought about by modernization. Hence, Lawa’s mode of life falls in-between a subsistence economy and a market economy that have spread to Lawa’s environment. This transformation by modernization has affected the Lawa way of life in three aspects: satisfaction, survival and suffering which vary by the degree of moderation in daily life practice.
Sponsorship
ได้รับการสนับสนุนจากโครงการทุนวิจัยมหาบัณฑิตในการศึกษาและพัฒนากลุ่มชาติพันธุ์ในภาวะวิกฤติ(สกว.)