Publication: Intelligence Quotient and Emotional Quotient Affecting Body Mass Index Among School-Age Children: A Case Study of Nakhon Pathom Province
Issued Date
2022
Resource Type
Language
eng
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Faculty of Environment and Resources Studies Mahidol University.
Bibliographic Citation
Journal of Professional Routine to Research. Vol. 9, No. 1 (Jan-Jun 2022), 30-38
Suggested Citation
Sarun Kunwittaya, Khanokporn Donjdee, Orapin Lertawasadatrakul, Nanthanat Songsiri, Winanda Deesawas, ศรัล ขุนวิทยา, กนกพร ดอนเจดีย์, อรพินท์ เลิศอวัสดาตระกูล, นันทนัช สงศิริ, วินันดา ดีสวัสดิ์ Intelligence Quotient and Emotional Quotient Affecting Body Mass Index Among School-Age Children: A Case Study of Nakhon Pathom Province. Journal of Professional Routine to Research. Vol. 9, No. 1 (Jan-Jun 2022), 30-38. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79420
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Intelligence Quotient and Emotional Quotient Affecting Body Mass Index Among School-Age Children: A Case Study of Nakhon Pathom Province
Alternative Title(s)
ความฉลาดทางสติปัญญา และความฉลาดทางอารมณ์ที่มีผลต่อค่าดัชนีมวลกายในเด็กวัยเรียน กรณีศึกษาจังหวัดนครปฐม
Other Contributor(s)
Abstract
This study 1) measured the level of intelligence quotient (IQ), emotional quotient (EQ), and body mass index (BMI) in school-age children 2) compared the intelligence quotient (IQ) and emotional quotient (EQ) in school-age children according to personal factors and 3) investigated the individual, family and social factors affecting body mass index in school-age children in Nakhon Pathom Province. A total of 266 children aged 6-11 years old were randomly selected in each classroom from three schools in urban areas of Nakhon Pathom Province in Thailand using the convenience method for selection. IQ scores were assessed using the fourth edition of the test of nonverbal intelligence (TONI-4), and emotional intelligence (EQ) assessed by the emotional intelligence assessment questionnaire for children aged 6-11 years old, Department of Mental Health (DMH), Ministry of Public Health, Thailand. The data was analyzed by using descriptive statistics, independent Sample t-Test, One-way ANOVA, and multiple regression. The results showed that not more than 5% of parents had higher education level and 21.43% of the family and social status have a family income below 10,000 Thai Baht per month. Moreover, the parents’ education level is shown to impact BMI and IQ, while income status of family shows effects on EQ and IQ, also. However, individual factors, such as age in years, emotional quotient (EQ) and intelligence quotient (IQ) affected the body mass index in school-age children of urban areas of the Nakhon Pathom Province, Thailand (p<0.05).
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับความฉลาดทางสติปัญญา และความฉลาดทางอารมณ์ในเด็กวัยเรียน กรณีศึกษาจังหวัดนครปฐม 2) เปรียบเทียบระดับความฉลาดทางสติปัญญา และความฉลาดทางอารมณ์ในเด็กวัยเรียน จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และ 3) ปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยครอบครัวและสังคมที่มีอิทธิพลต่อค่าดัชนีมวลกายในเด็กวัยเรียน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ คือ เด็กอายุระหว่าง 6–11 ปี จำนวน 266 คน ที่ได้รับการสุ่มเลือกในแต่ละห้องเรียนจากโรงเรียน 3 แห่งในเขตเมืองของจังหวัดนครปฐม ในประเทศไทย โดยใช้เทคนิคการคัดเลือกตามสะดวก เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบประเมิน Test of Nonverbal Intelligence Fourth Edition (TONI-4) และ แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์สาหรับเด็ก 6-11 ปี กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติบรรยาย การทดสอบค่าที (Independent Samples t Test) การทดสอบความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA) และการวิเคราะห์สถิติสมการถดถอยเชิงพหุ (Multiple Regression Analysis) ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างผู้ปกครองไม่ถึง ร้อยละ 5 ที่มีการศึกษาอยู่ในระดับสูง และด้านสถานภาพทางครอบครัวและสังคม ร้อยละ 21.43 มีรายได้ครัวเรือนต่อเดือนต่ำกว่า 10,000 บาท นอกจากนี้ ระดับการศึกษาของผู้ปกครองที่ต่างกัน ทำให้เด็กวัยเรียนมีดัชนีมวลกาย และความฉลาดทางสติปัญญาแตกต่างกัน (p<0.05) ขณะที่ระดับรายได้ของครัวเรือนที่ต่างกัน ทำให้เด็กวัยเรียนมีความฉลาดทางอารมณ์และความฉลาดทางสติปัญญาแตกต่างกัน (p<0.05) อย่างไรก็ตาม ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ อายุ ความฉลาดทางอารมณ์ และความฉลาดทางสติปัญญา มีผลต่อค่าดัชนีมวลกายของเด็กวัยเรียน ในพื้นที่เขตเมืองของจังหวัดนครปฐม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (p<0.05)
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับความฉลาดทางสติปัญญา และความฉลาดทางอารมณ์ในเด็กวัยเรียน กรณีศึกษาจังหวัดนครปฐม 2) เปรียบเทียบระดับความฉลาดทางสติปัญญา และความฉลาดทางอารมณ์ในเด็กวัยเรียน จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และ 3) ปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยครอบครัวและสังคมที่มีอิทธิพลต่อค่าดัชนีมวลกายในเด็กวัยเรียน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ คือ เด็กอายุระหว่าง 6–11 ปี จำนวน 266 คน ที่ได้รับการสุ่มเลือกในแต่ละห้องเรียนจากโรงเรียน 3 แห่งในเขตเมืองของจังหวัดนครปฐม ในประเทศไทย โดยใช้เทคนิคการคัดเลือกตามสะดวก เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบประเมิน Test of Nonverbal Intelligence Fourth Edition (TONI-4) และ แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์สาหรับเด็ก 6-11 ปี กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติบรรยาย การทดสอบค่าที (Independent Samples t Test) การทดสอบความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA) และการวิเคราะห์สถิติสมการถดถอยเชิงพหุ (Multiple Regression Analysis) ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างผู้ปกครองไม่ถึง ร้อยละ 5 ที่มีการศึกษาอยู่ในระดับสูง และด้านสถานภาพทางครอบครัวและสังคม ร้อยละ 21.43 มีรายได้ครัวเรือนต่อเดือนต่ำกว่า 10,000 บาท นอกจากนี้ ระดับการศึกษาของผู้ปกครองที่ต่างกัน ทำให้เด็กวัยเรียนมีดัชนีมวลกาย และความฉลาดทางสติปัญญาแตกต่างกัน (p<0.05) ขณะที่ระดับรายได้ของครัวเรือนที่ต่างกัน ทำให้เด็กวัยเรียนมีความฉลาดทางอารมณ์และความฉลาดทางสติปัญญาแตกต่างกัน (p<0.05) อย่างไรก็ตาม ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ อายุ ความฉลาดทางอารมณ์ และความฉลาดทางสติปัญญา มีผลต่อค่าดัชนีมวลกายของเด็กวัยเรียน ในพื้นที่เขตเมืองของจังหวัดนครปฐม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (p<0.05)