Publication: “คุรบานี” จักรวาลในดวงจิต : เรียนรู้ปรัชญาจากสัตว์ในภาพพจน์
dc.contributor.author | อภิรัฐ คำวัง | en_US |
dc.contributor.author | Aphirat Kamwang | en_US |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย | en_US |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท | |
dc.date.accessioned | 2020-05-07T07:17:40Z | |
dc.date.available | 2020-05-07T07:17:40Z | |
dc.date.created | 2563-05-07 | |
dc.date.issued | 2562 | |
dc.description.abstract | คุรบานีเป็นบทสวดพระธรรม ประพันธ์ไว้ในพระมหาคัมภีร์แห่งศาสนาซิกข์ (คุรุศาสดานิรันดร์กาล) ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ พิจารณาเฉพาะการนำสัตว์มาใช้เป็นภาพพจน์ในทางวรรณกรรม โดยเน้นการอุปมาสัตว์เป็นพฤติกรรมของมนุษย์ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหลักปรัชญาคำสอนที่คุรุศาสดาผู้ประพันธ์ได้ถ่ายทอดต่อ ศิษยานุศิษย์ อันจะทำให้เกิดความตระหนักและความเข้าใจในความเป็นมนุษย์ นำไปสู่ปฏิบัติการพัฒนาทาง จิตวิญญาณ โดยศึกษาด้วยวิธีการสุ่มเลือกคุรบานี 50 ซบัด ซึ่งให้ครอบคลุมสรรพสัตว์ และพบ 40 ชนิดพันธุ์ที่ได้อาศัยพฤติกรรมที่เด่นของสัตว์ต่างๆ มาสื่อเป็นตัวอย่าง สำหรับบทความวิจัยนี้ พิจารณานำเสนอ 7 กรณีศึกษา และ 11 ชนิดพันธุ์ และผลการศึกษาบางส่วน คุรบานีอุปมาเรื่องสำคัญ คือ เรื่องมายาและความหลง เรื่องความรักศรัทธาต่อ “วาฮฺ คุรู” เรื่องปัญญา ตลอดจนการประพฤติชอบของอริยสาวก (คุรมุข) ซึ่งผลการศึกษานี้ถือเป็นองค์ความรู้ทางปรัชญาศาสนาซิกข์ที่มีความน่าสนใจและน่าจะเป็นประโยชน์ต่อสังคมไทย หากจะสามารถนำไปประยุกต์ใช้เพื่อเสริมสร้างการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม | en_US |
dc.description.abstract | Gurbani is a collection of hymnsandprayer teachings compiled into the Sikh Holy Scripture (The Eternal Guru). This study explores the use of figurative language related to animals found in Gurbani, focussing specifically on the description of animals used as analogies of human conduct. The objective is to study the underlying philosophy and doctrinal guidance that the Gurus have provided their followers to enable themto better understand themselves as human beings and thereby realize higher spiritual progress. Gurbani compositions including50 Shabads have been randomly selected toidentify references to animals, 40 species of which were found and their traits described as examples. Seven cases comprising 11 species were studied in total finding that some animal descriptions in Gurbani drew analogous comparisons with spiritual aspects like Maya (delusion) and attachment, love and devotion towards “Waheguru” (Almighty God), wisdom, and proper conduct of a true disciple (Gurmukh). The result of this study is a deeper knowledge of Sikh spiritualism and its fascinating philosophy which offer valuable lessons for Thai society if applied to strengthen or reinforce morality and ethical living. | |
dc.identifier.citation | วารสารภาษาและวัฒนธรรม. ปีที่ 38, ฉบับที่ 1 (ม.ค.- มิ.ย. 2562), 65-85 | en_US |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/54759 | |
dc.language.iso | tha | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.rights.holder | สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.subject | อินเดียศึกษา | en_US |
dc.subject | ศาสนาซิกข์ | en_US |
dc.subject | ศรี คุรุ ครันถ์ ซาฮิบ | en_US |
dc.subject | คุรบานี | en_US |
dc.subject | ภาพพจน์ | en_US |
dc.subject | วารสารภาษาและวัฒนธรรม | en_US |
dc.subject | Journal of Language and Culture | en_US |
dc.subject | Indian Studies | |
dc.subject | Sikhism | |
dc.subject | Shri Guru Granth Sahib(SGGS) | |
dc.title | “คุรบานี” จักรวาลในดวงจิต : เรียนรู้ปรัชญาจากสัตว์ในภาพพจน์ | en_US |
dc.title.alternative | “Gurbani”,universein the mind: Learning philosophy from animalfigurative language | |
dc.type | Research Article | en_US |
dspace.entity.type | Publication | |
mods.location.url | https://so03.tci-thaijo.org/index.php/JLC/article/view/241373/163905 |