Publication:
การนำนโยบายด้านความยั่งยืนทางการเงินไปสู่การปฏิบัติของบุคลากร วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล

dc.contributor.authorกวิน ปลาอ่อนen_US
dc.contributor.authorKawin Pla-onen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. วิทยาลัยนานาชาติ. งานแผนและพัฒนาคุณภาพen_US
dc.date.accessioned2020-06-07T02:03:02Z
dc.date.available2020-06-07T02:03:02Z
dc.date.created2563-06-07
dc.date.issued2561
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการนำนโยบายด้านความยั่งยืนทางการเงินไปสู่การปฏิบัติของบุคลากร วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ บุคลากรของวิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล จำนวน 201 คน รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์หาความแตกต่างของกลุ่มตัวอย่างด้วยการวิเคราะห์ความแปรปรวนทิศทางเดียว (One-way ANOVA) ผลการวิจัย พบว่า บุคลากรมีการนำนโยบายด้านความยั่งยืนทางการเงินไปสู่การปฏิบัติในระดับมาก โดยวิธีที่บุคลากรนำไปปฏิบัติมากที่สุด คือ การปฏิบัติงานอย่างเต็มศักยภาพให้คุ้มกับเวลาและค่าจ้าง บุคลากรที่สังกัดหน่วยงานที่แตกต่างกัน มีระดับการนำนโยบายด้านความยั่งยืนทางการเงินไปสู่การปฏิบัติแตกต่างกันใน 3 วิธีการ คือ การควบคุมต้นทุนในการดำเนินงาน การแสวงหารายได้เพิ่มเติมจากที่ดำเนินการอยู่ และการใช้งบประมาณตามแผนที่ตั้งไว้อย่างเหมาะสมและคุ้มค่า ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 ซึ่งข้อมูลที่ได้นี้จะเป็นแนวทางในการพัฒนากระบวนการนำนโยบายด้านความยั่งยืนทางการเงินไปสู่การปฏิบัติของบุคลากรต่อไปen_US
dc.description.abstractThis research aims to study the financial sustainability policy implementation of the Mahidol University International College staff. The sample group was composed of 201 MUIC staff members. A questionnaire was used for collecting data. Statistics used for data analysis consisted of frequency, percentage, mean, standard deviation and comparison between samples by one-way analysis of variance (One-way ANOVA). The results found that MUIC staff implemented the financial sustainability policy at a high level. They mostly implemented the policy by contributing to MUIC with high performance. MUIC staff members from different departments have different levels of policy implementation in three processes; controlling costs, earning extra income, and managing budgets efficiently at a significance level of 0.05. The results from this study can be used for financial sustainability policy implementation improvement.en_US
dc.identifier.citationวารสารการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย. ปีที่ 5, (ส.ค. 2561), 61-69en_US
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/56392
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderคณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectความยั่งยืนทางการเงินen_US
dc.subjectการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติen_US
dc.subjectการควบคุมต้นทุนen_US
dc.subjectFinancial Sustainabilityen_US
dc.subjectPolicy Implementationen_US
dc.subjectCost Controlen_US
dc.subjectJournal of Professional Routine to Researchen_US
dc.titleการนำนโยบายด้านความยั่งยืนทางการเงินไปสู่การปฏิบัติของบุคลากร วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.title.alternativeA Financial Sustainability Policy Implementation of Mahidol University International College Staffen_US
dc.typeResearch Articleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://so03.tci-thaijo.org/index.php/jpr2r/article/view/123088

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ic-ar-kawin-2561.pdf
Size:
1.95 MB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections