Publication: Fatty acid composition in adipose tissues of goats and sheep reared on either grazing or confinement regimen
Issued Date
2014
Resource Type
Language
eng
ISSN
1906-2257
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Faculty of Veterinary Science Mahidol University
Bibliographic Citation
Journal of Applied Animal Science. Vol.7, No.3 (Sep-Dec 2014), 23-30
Suggested Citation
สุรศักดิ์ จิตตะโคตร์, คุณาภรณ์ หอมยก, สมัชญา เพ็งดิษฐ์, เชาวลิต นาคทอง, Surasak Jittakhot, Kunaporn Homyog, Samatchaya Pengdit, Chowalit Nakthong Fatty acid composition in adipose tissues of goats and sheep reared on either grazing or confinement regimen. Journal of Applied Animal Science. Vol.7, No.3 (Sep-Dec 2014), 23-30. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/1685
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Fatty acid composition in adipose tissues of goats and sheep reared on either grazing or confinement regimen
Alternative Title(s)
องค์ประกอบของกรดไขมันเนื้อเยื่อไขมันของแพะและแกะที่มีการเลี้ยงแบบปล่อยแทะเล็มและขังคอก
Other Contributor(s)
Abstract
Essential fatty acids play a part in many metabolic processes such as immune system, and cardiovascular system. A lower ratio of omega-6 to omega-3 fatty acids or increased omega-3 fatty acids in human diet was more desirable in reducing the risk of the chronic diseases. Hence, the objective of this study was to determine fatty acid composition from goat and sheep adipose tissues with two different rearing regimens, grazing and confinement. Ten young male crossbred goats and sheep were equally divided into two groups by their species reared on either grazing or confinement. Analysis of data as a 2 x 2 factorial combination in Completely Randomized Design showed that different species did affect fatty acid compositions and no significant differences were found by either rearing regimens in fatty acid composition in perirenal adipose tissues. The ratio of the saturated to unsaturated fatty acid was significantly higher (P<0.01) in goats than that found in sheep. But, the effects of rearing and species-rearing interaction were not observed on this ratio. Moreover, there was significantly higher (P<0.05) α-linolenic acid (C18:3 ω3) in sheep adipose tissue than goats in both rearing regimens. Thus, ω6/ω3 ratio tended to be lower in sheep than goats. Perirenal adipose tissues from goat and sheep contained 4.02 % and 4.57 % polyunsaturated fatty acids (PUFA), respectively.
กรดไขมันชนิดจำเป็นมีความสำคัญในกระบวนการเมแทบอลิซึมของระบบต่างๆ ของร่างกาย เช่น ระบบภูมิคุ้มกันและระบบหมุนเวียนเลือด มีการศึกษาพบว่าอาหารที่มีสัดส่วนของกรดไขมันชนิดโอเมก้า 6 ต่อกรดไขมันชนิดโอเมก้า 3 (ω6/ω3 ratio) ในระดับที่ต่ำ ช่วยลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรังต่างๆ ได้ ดังนั้น การศึกษาในครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบชนิดและปริมาณของกรดไขมันในเนื้อเยื่อไขมันรอบไตของแพะและแกะหนุ่มเพศผู้ระหว่างการเลี้ยงแบบปล่อยแทะเล็มและขังคอก โดยแพะและแกะชนิดละ 10 ตัว ถูกแบ่งออกเป็นสองกลุ่ม สัตว์ทัังสองชนิดถูกแบ่งเลี้ยงแบบปล่อยแทะเล็มและขังคอกกลุ่มละเท่าๆ กัน จากการวิเคราะห์ข้อมูลโดยจัดทรีตเมนต์แบบพหุคูณ 2 x 2 ในการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ แสดงให้เห็นว่าชนิดของสัตว์มีผลต่อชนิดและปริมาณของกรดไขมัน โดยสัดส่วนกรดไขมันชนิด ω6/ω3 ในแพะนั้นสูงกว่าแกะอย่างมีนัยสำคัญ (P<0.01)ในขณะเดียวกันพบว่ารูปแบบของการเลี้ยงนั้นไม่มีนัยสำคัญทางสถิติต่อชนิดและปริมาณของกรดไขมัน กรดไขมันจำเป็นชนิดแอลฟ่าไลโนเลนิก (C18:3 ω3) ในเนื้อเยื่อไขมันแกะสูงกว่าแพะ (P<0.05) ทั้งสองรูปแบบการเลี้ยง และมีแนวโน้มว่าสัดส่วนกรดไขมันชนิด ω6/ω3 ในแกะต่ำกว่าแพะ เนื้อเยื่อไขมันรอบไตแพะและแกะ ประกอบไปด้วยกรดไขมันชนิดไม่อิ่มตัวสายยาว (polyunsaturated long chain fatty acids, PUFA) 4.02 % และ 4.57% ตามลำดับ
กรดไขมันชนิดจำเป็นมีความสำคัญในกระบวนการเมแทบอลิซึมของระบบต่างๆ ของร่างกาย เช่น ระบบภูมิคุ้มกันและระบบหมุนเวียนเลือด มีการศึกษาพบว่าอาหารที่มีสัดส่วนของกรดไขมันชนิดโอเมก้า 6 ต่อกรดไขมันชนิดโอเมก้า 3 (ω6/ω3 ratio) ในระดับที่ต่ำ ช่วยลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรังต่างๆ ได้ ดังนั้น การศึกษาในครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบชนิดและปริมาณของกรดไขมันในเนื้อเยื่อไขมันรอบไตของแพะและแกะหนุ่มเพศผู้ระหว่างการเลี้ยงแบบปล่อยแทะเล็มและขังคอก โดยแพะและแกะชนิดละ 10 ตัว ถูกแบ่งออกเป็นสองกลุ่ม สัตว์ทัังสองชนิดถูกแบ่งเลี้ยงแบบปล่อยแทะเล็มและขังคอกกลุ่มละเท่าๆ กัน จากการวิเคราะห์ข้อมูลโดยจัดทรีตเมนต์แบบพหุคูณ 2 x 2 ในการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ แสดงให้เห็นว่าชนิดของสัตว์มีผลต่อชนิดและปริมาณของกรดไขมัน โดยสัดส่วนกรดไขมันชนิด ω6/ω3 ในแพะนั้นสูงกว่าแกะอย่างมีนัยสำคัญ (P<0.01)ในขณะเดียวกันพบว่ารูปแบบของการเลี้ยงนั้นไม่มีนัยสำคัญทางสถิติต่อชนิดและปริมาณของกรดไขมัน กรดไขมันจำเป็นชนิดแอลฟ่าไลโนเลนิก (C18:3 ω3) ในเนื้อเยื่อไขมันแกะสูงกว่าแพะ (P<0.05) ทั้งสองรูปแบบการเลี้ยง และมีแนวโน้มว่าสัดส่วนกรดไขมันชนิด ω6/ω3 ในแกะต่ำกว่าแพะ เนื้อเยื่อไขมันรอบไตแพะและแกะ ประกอบไปด้วยกรดไขมันชนิดไม่อิ่มตัวสายยาว (polyunsaturated long chain fatty acids, PUFA) 4.02 % และ 4.57% ตามลำดับ