Publication: Hemostatic activities of Eupatorium odoratum Linn. : calcium removal extract
Issued Date
1994
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
424149 bytes
ISSN
0125-1570
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Faculty of Pharmacy Mahidol University
Bibliographic Citation
Mahidol University Journal of Pharmaceutical Sciences. Vol.21, (1994), 143-148.
Suggested Citation
Yuwadee Wongkrajang, Suchitra Thongpraditchote, Somjai Nakornchai, Wongsatit Chuakul, Kanchana Muangklum, Pranee Jaiarj, ยุวดี วงษ์กระจ่าง, สุจิตรา ทองประดิษฐ์โชติ, สมใจ นครชัย, วงศ์สถิตย์ ฉั่วกุล, กาญจนา ม่วงกล่ำ, ปราณี ใจอาจ, Mahidol University. Faculty of Pharmacy. Department of Pharmacology Hemostatic activities of Eupatorium odoratum Linn. : calcium removal extract. Mahidol University Journal of Pharmaceutical Sciences. Vol.21, (1994), 143-148.. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/62307
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Hemostatic activities of Eupatorium odoratum Linn. : calcium removal extract
Alternative Title(s)
ฤทธิ์ในการห้ามเลือดของสารสกัดใบสาบเสือที่ตกตะกอนแคลเซียมออก
Abstract
Eupatorium odoratum leaves were scientifically proved in the previous experiment to have hemostatic effect by shortening the bleeding time of the wounds in the rats pads adn clotting human plasma without adding exogenous calcium in the prothrombin time test. These evidences suggested that E. odoratum leaves provided calcium to promote hemostatic function. This experiment was carried out to prove this hypothesis by precipitating calcium from E. odoratum leaves with sodim oxalate. The calcium removal extract could not reduce the bleeding time of the wounds in the rats pads and the human plasma tested for prothrombin time did not until exogenous calcium was added. Therefore, it could be concluded that hemostatic effect of leaves was caused by high calcium content. Meanwhile, the antiheparinic activity of E. odoratum leaves were investigated by observing changes of the thrombin time of heparinized human plasma. It was found that the extract of leaves, both removal and nonremoval of calcium could not shorten the thrombin time of heparinized plasma. It indicated that E. odoratum leaves had no antiheparinic effect.
ใบสาบเสือเป็นสมุนไพรที่มีสรรพคุณในการห้ามเลือด จากการศึกษาที่ผ่านมาพบว่าใบสาบเสือทำให้ค่าระยะเวลาเลือดออกลดลงอย่างมีนัยสำคัญในสัตว์ทดลอง และยังมีผลต่อ prothrombin time โดยทำให้พลาสมาแข็งตัวได้โดยไม่ต้องเติมแคลเซียม จึงได้ทำการทดลองฤทธิ์ในการห้ามเลือดของใบสาบเสือที่ตกตะกอนเอาแคลเซียมออก เพื่อพิสูจน์ว่าแคลเซียมจากใบสาบเสือมีบทบาทในการห้ามเลือดหรือไม่ ผลการทดลองพบว่าใบสายเสือที่ตกตะกอนแคลเซียมออกต้องแติมแคลเซียมลงไปจึงจะทำให้พลาสมาแข็งตัวในการทดสอบ prothrombin time และพบว่าใบสาบเสือที่ตกตะกอนแคลเซียมออกไม่สามารถลดระยะเวลาเลือดออกได้ในสัตว์ทดลอง จึงบ่งชี้ว่าแคลเซียมในใบสาบเสือมีผลต่อการห้ามเลือด นอกจากนี้ได้ทดลองดูผลการต้านเฮพารินของใบสาบเสือด้วย พบว่าผลของใบสาบเสือที่มีแคลเซียมและที่ตกตะกอนเอาแคลเซียมออกไม่สามารถลดระยะเวลาของ thrombin time ของพลาสมากที่เติมเฮพาริน
ใบสาบเสือเป็นสมุนไพรที่มีสรรพคุณในการห้ามเลือด จากการศึกษาที่ผ่านมาพบว่าใบสาบเสือทำให้ค่าระยะเวลาเลือดออกลดลงอย่างมีนัยสำคัญในสัตว์ทดลอง และยังมีผลต่อ prothrombin time โดยทำให้พลาสมาแข็งตัวได้โดยไม่ต้องเติมแคลเซียม จึงได้ทำการทดลองฤทธิ์ในการห้ามเลือดของใบสาบเสือที่ตกตะกอนเอาแคลเซียมออก เพื่อพิสูจน์ว่าแคลเซียมจากใบสาบเสือมีบทบาทในการห้ามเลือดหรือไม่ ผลการทดลองพบว่าใบสายเสือที่ตกตะกอนแคลเซียมออกต้องแติมแคลเซียมลงไปจึงจะทำให้พลาสมาแข็งตัวในการทดสอบ prothrombin time และพบว่าใบสาบเสือที่ตกตะกอนแคลเซียมออกไม่สามารถลดระยะเวลาเลือดออกได้ในสัตว์ทดลอง จึงบ่งชี้ว่าแคลเซียมในใบสาบเสือมีผลต่อการห้ามเลือด นอกจากนี้ได้ทดลองดูผลการต้านเฮพารินของใบสาบเสือด้วย พบว่าผลของใบสาบเสือที่มีแคลเซียมและที่ตกตะกอนเอาแคลเซียมออกไม่สามารถลดระยะเวลาของ thrombin time ของพลาสมากที่เติมเฮพาริน