Publication: Effects of atropine 0.25 mg/kg on goat sexual desire, semen quality and seminal fluid volume
Issued Date
2020
Resource Type
Language
tha
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Faculty of Veterinary Science Mahidol University
Bibliographic Citation
Journal of Applied Animal Science. Vol.13, No.2 (Jul- Dec 2020), 27-34
Suggested Citation
Sakdichod Kimsakulvech, Chowalit Nakthong, Yupaporn Lanamtiang, ศักดิโชติ คิมสกุลเวช, เชาวลิต นาคทอง, ยุภาภรณ์ ลาน้ำเที่ยง Effects of atropine 0.25 mg/kg on goat sexual desire, semen quality and seminal fluid volume. Journal of Applied Animal Science. Vol.13, No.2 (Jul- Dec 2020), 27-34. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/63389
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Effects of atropine 0.25 mg/kg on goat sexual desire, semen quality and seminal fluid volume
Alternative Title(s)
ผลของอะโทรปีน 0.25 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ต่อความต้องการทางเพศคุณภาพน้ำเชื้อ และปริมาณน้ำเลี้ยงอสุจิในแพะ
Other Contributor(s)
Mahidol University. Faculty of Veterinary Science
Mahidol University. Faculty of Veterinary Science. Department of Preclinic and Applied Animal Sciences
Mahidol University. Faculty of Veterinary Science. Department of Clinical Science and Public Health
Mahidol University. Faculty of Veterinary Science. Veterinary Medical Center for Livestock and Wildlife Animal Hospital
Mahidol University. Faculty of Veterinary Science. Department of Preclinic and Applied Animal Sciences
Mahidol University. Faculty of Veterinary Science. Department of Clinical Science and Public Health
Mahidol University. Faculty of Veterinary Science. Veterinary Medical Center for Livestock and Wildlife Animal Hospital
Abstract
This experiment compared effect of atropine 0.25 mg/kg between before and after injection in eight male
goats. The trial was conducted for 3 experiments in 3 consecutive weeks. At the first week, all male goats were
injected intramuscularly with normal saline 1 ml (NSS) as a pre-control group. At the second week, all goats
were injected with atropine 0.25 mg/kg as an atropine group. At the third week, all goats were injected with NSS as a post-control group. Pupillary light reflex and heart rate were evaluated 15 minutes before and after
injection. Sexual desire was evaluated by libido score. Semen was collected within 40 minutes after injection
for assessing semen quality and seminal fluid volume. In atropine group, all goats had mydriasis and
significantly higher heart rate after injection. All groups could copulate and ejaculate within 1 minute after
contacting the female. Sexual desire, semen parameters and seminal fluid volume were not significantly different among three groups. In summary, injecting atropine 0.25 mg/kg inhibited parasympathetic nervous system and did not change sexual desire, semen quality and seminal fluid volume.
การทดลองนี้จัดทำขึ้นเพื่อศึกษาผลการฉีดอะโทรปีนขนาด 0.25 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ต่อความต้องการทางเพศ คุณภาพน้ำเชื้อ และการหลั่งน้ำเลี้ยงอสุจิในแพะ โดยศึกษาในแพะเพศผู้จำนวน 8 ตัว แบ่งออกเป็น 3 การทดลองใน3 สัปดาห์ สัปดาห์แรกแพะเพศผู้ทุกตัวถูกฉีดดด้วยน้ำเกลือปริมาณ 1 มิลลิลิตร เข้ากล้ามเนื้อจัดเป็นกลุ่มควบคุมก่อนทดลอง สัปดาห์ที่สอง แพะทุกตัวถูกฉีดด้วยอะโทรปีน ขนาด 0.255 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม จัดเป็นกลุ่มอะโทรปีน และสัปดาห์ที่สามแพะถูกฉีดด้วยน้ำเกลือ จัดเป็นกลุ่มหลังการทดลอง การตอบสนองของม่านตอัตราของหัวใจถูกตรวจวัดก่อนและหลังฉีดสาร 15 นาที ความต้องการทางเพศถูกวัดจากคะแนนความต้องการทางเพศ เก็บน้ำเชื้อหลังฉีดสารภายใน 40 นาที เพื่อประเมินคุณภาพน้ำเชื้อและปริมาณน้ำเลี้ยงอสุจิถูกประเมินทุกครั้งหลังรีดเก็บน้ำเชื้อ ผลการศึกษาพบว่า แพะในกลุ่มอะโทรปีนพบม่านตาขยายและอัตราการเต้นของหัวใจหลังฉีดสูงขึ้นเมื่อเทียบกับก่อนฉีด แพะทุกกลุ่มสามารถขึ้นทับเพศเมียและหลั่งงน้ำเชื้อภายใน 1 นาที หลังปล่อยให้เข้าหาเพศเมีย โดยไม่มีความแตกต่างของความต้องการทางเพศ คุณภาพน้ำเชื้อและปริมาณน้ำเลี้ยงอสุจิ ระหว่างกลุ่มอะโทรปีนและกลุ่มควบคุมทั้งก่อนและหลังฉีดอะโทรปีน โดยสรุป การฉีดอะโทรปีนในแพะขนาด 0.25 25 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม มีผลยับยั้งระบบพาราซิมพาเทติก โดยไม่มีผลต่อความต้องการทางเพศ คุณภาพน้ำเชื้อ และการหลั่งน้ำเลี้ยงอสุจิของแพะ
การทดลองนี้จัดทำขึ้นเพื่อศึกษาผลการฉีดอะโทรปีนขนาด 0.25 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ต่อความต้องการทางเพศ คุณภาพน้ำเชื้อ และการหลั่งน้ำเลี้ยงอสุจิในแพะ โดยศึกษาในแพะเพศผู้จำนวน 8 ตัว แบ่งออกเป็น 3 การทดลองใน3 สัปดาห์ สัปดาห์แรกแพะเพศผู้ทุกตัวถูกฉีดดด้วยน้ำเกลือปริมาณ 1 มิลลิลิตร เข้ากล้ามเนื้อจัดเป็นกลุ่มควบคุมก่อนทดลอง สัปดาห์ที่สอง แพะทุกตัวถูกฉีดด้วยอะโทรปีน ขนาด 0.255 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม จัดเป็นกลุ่มอะโทรปีน และสัปดาห์ที่สามแพะถูกฉีดด้วยน้ำเกลือ จัดเป็นกลุ่มหลังการทดลอง การตอบสนองของม่านตอัตราของหัวใจถูกตรวจวัดก่อนและหลังฉีดสาร 15 นาที ความต้องการทางเพศถูกวัดจากคะแนนความต้องการทางเพศ เก็บน้ำเชื้อหลังฉีดสารภายใน 40 นาที เพื่อประเมินคุณภาพน้ำเชื้อและปริมาณน้ำเลี้ยงอสุจิถูกประเมินทุกครั้งหลังรีดเก็บน้ำเชื้อ ผลการศึกษาพบว่า แพะในกลุ่มอะโทรปีนพบม่านตาขยายและอัตราการเต้นของหัวใจหลังฉีดสูงขึ้นเมื่อเทียบกับก่อนฉีด แพะทุกกลุ่มสามารถขึ้นทับเพศเมียและหลั่งงน้ำเชื้อภายใน 1 นาที หลังปล่อยให้เข้าหาเพศเมีย โดยไม่มีความแตกต่างของความต้องการทางเพศ คุณภาพน้ำเชื้อและปริมาณน้ำเลี้ยงอสุจิ ระหว่างกลุ่มอะโทรปีนและกลุ่มควบคุมทั้งก่อนและหลังฉีดอะโทรปีน โดยสรุป การฉีดอะโทรปีนในแพะขนาด 0.25 25 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม มีผลยับยั้งระบบพาราซิมพาเทติก โดยไม่มีผลต่อความต้องการทางเพศ คุณภาพน้ำเชื้อ และการหลั่งน้ำเลี้ยงอสุจิของแพะ