Publication: โครงสร้างสัมพันธสารการพูดสร้างแรงบันดาลใจในภาษาไทย
Issued Date
2562
Resource Type
Language
tha
Rights
มหาวิทยาลัยมหิดล
Rights Holder(s)
สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วารสารภาษาและวัฒนธรรม. ปีที่ 38, ฉบับที่ 1 (ม.ค.- มิ.ย. 2562), 1-23
Suggested Citation
เอธิกา เอกวารีสกุล, ปัทมา พัฒน์พงษ์, Atika Akwareesakul, Pattama Patpong โครงสร้างสัมพันธสารการพูดสร้างแรงบันดาลใจในภาษาไทย. วารสารภาษาและวัฒนธรรม. ปีที่ 38, ฉบับที่ 1 (ม.ค.- มิ.ย. 2562), 1-23. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/55080
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
โครงสร้างสัมพันธสารการพูดสร้างแรงบันดาลใจในภาษาไทย
Alternative Title(s)
A discourse structure of inspiration talks in Thai
Abstract
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์โครงสร้างสัมพันธสารการพูดสร้างแรงบันดาลใจในภาษาไทย โดยใช้กรอบแนวคิดข้อความในสัมพันธสารของ Robert E. Longacre (1983) ข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์มาจากตัวบทการพูดสร้างแรงบันดาลใจจากเวที TEDxBangkok 2015-2017 จำนวน 43 ตัวบท ผลการวิเคราะห์พบว่า โครงสร้างสัมพันธสารการพูดสร้างแรงบันดาลใจในภาษาไทยแบ่งเป็น 3 ส่วนหลัก ได้แก่ 1) ส่วนนำ ประกอบด้วย คำทักทายผู้ฟัง การขอบคุณผู้ที่เกี่ยวข้อง การแนะนำตัว การถามนำหรือการตั้งคำถามกับสิ่งที่เกิดขึ้น การบอกเรื่องที่จะพูด การเล่าประสบการณ์ของผู้พูด และการเล่าสิ่งที่เกิดขึ้น 2) ส่วนเนื้อหาประกอบด้วยการเล่าสิ่งที่เกิดขึ้น การเล่าประสบการณ์ และการแนะนำ และ 3) ส่วนสรุปประกอบด้วยการสรุปและการกล่าวลา นอกจากนี้ ผลการศึกษายังแสดงให้เห็นว่า การพูดสร้างแรงบันดาลใจ ไม่ได้จัดอยู่ในประเภทของสัมพันธสารประเภทใดประเภทหนึ่งตามแนวคิดของ Longacre แต่มีการพูดโดยใช้สัมพันธสารประเภทต่างๆ ในตัวบท 1 ตัวบท ไม่ว่าจะเป็นสัมพันธสารประเภทเรื่องเล่า สัมพันธสารประเภทข้อควรปฏิบัติ สัมพันธสารประเภทกระบวนการ และสัมพันธสารประเภทคำอธิบาย โดยในส่วนนำมีการใช้สัมพันธสารคำอธิบายมากที่สุด ส่วนเนื้อหามีการใช้สัมพันธสารคำอธิบายและสัมพันธสารเรื่องเล่าในสัดส่วนที่ใกล้เคียงกัน และส่วนสรุปมีการใช้สัมพันธสารข้อควรปฏิบัติมากที่สุด
The purpose of this article isto analyze the discourse structure of inspiration talks in Thai. The theoretical framework used in this study is Information Structure, developedby Robert E. Longacre(1983). Data in this paper was taken from TEDxBangkok 2015 to 2017, 43 video clips in total. The studyitself revealsthat thediscourse structureof inspiration talks in Thaiconsists of threeparts. First is introduction, whichcomposedof greeting, gratitude, introducingoneself, using leading questions, telling topic, sharingexperiences, and explainingwhat happened. Second, the body comprisestelling what happened, sharingexperiences, and suggestions. Last, the conclusion,includesofsummary and farewell.Moreover, the resultsindicatethat inspiration talksin Thaiarenotclassified as oneof Longacre’s discourse types, but incorporatevarioustypes in one inspiration talk such asnarrative discourse, hortatory discourse, procedural discourse, or expository discourse.In the introduction, expository discourse was the most frequently used and in the body it was expository and narrative discourse, used in an equalproportion. Hortatory discourse was the most frequently used in the conclusion.
The purpose of this article isto analyze the discourse structure of inspiration talks in Thai. The theoretical framework used in this study is Information Structure, developedby Robert E. Longacre(1983). Data in this paper was taken from TEDxBangkok 2015 to 2017, 43 video clips in total. The studyitself revealsthat thediscourse structureof inspiration talks in Thaiconsists of threeparts. First is introduction, whichcomposedof greeting, gratitude, introducingoneself, using leading questions, telling topic, sharingexperiences, and explainingwhat happened. Second, the body comprisestelling what happened, sharingexperiences, and suggestions. Last, the conclusion,includesofsummary and farewell.Moreover, the resultsindicatethat inspiration talksin Thaiarenotclassified as oneof Longacre’s discourse types, but incorporatevarioustypes in one inspiration talk such asnarrative discourse, hortatory discourse, procedural discourse, or expository discourse.In the introduction, expository discourse was the most frequently used and in the body it was expository and narrative discourse, used in an equalproportion. Hortatory discourse was the most frequently used in the conclusion.