Publication: Raok ot dialect of Palaung sp ok en in Yunnan: Phonology and genetic classification
dc.contributor.author | Sujaritlak Deepadung | en_US |
dc.contributor.author | Supakit Buakaw | en_US |
dc.contributor.author | สุจริตลักษณ์ ดีผดุง | en_US |
dc.contributor.author | ศุภกิต บัวขาว | en_US |
dc.contributor.other | Mahidol University. Research Institute for Languages and Cultures of Asia | en_US |
dc.contributor.other | Mahidol University. Institute of Language and Cultures for Rural Development | en_US |
dc.contributor.other | Khon Kaen University. Faculty of Humanities and Social Sciences | en_US |
dc.date.accessioned | 2021-04-23T02:55:36Z | |
dc.date.available | 2021-04-23T02:55:36Z | |
dc.date.created | 2021-04-23 | |
dc.date.issued | 2015 | |
dc.description.abstract | In this paper, the synchronic and diachronic phonology of Raokot dialect of Palaung will be outlined. The main purposes are to present phonological descriptions and to discuss phonological innovations in order to place Raokot into the right sub-group. A 1,000 item wordlist with English, Standard Thai, and Chinese glosses was used for data elicitation. The phonological data was elicited from native speakers of Raokot residing in Cha Ye Qing village, Luxi County, Dehong Dai Jingpo Autonomous Prefecture of Yunnan Province. The results show that Raokot dialect of Palaung exhibits a phonological pattern of implosivization that seems to be similar to Luce‟s (1965) Ra-ang and Diffloth‟s (1991) Ka-ang. The historical development of Raokot phonology suggests that it shares some characteristics with Rumai and is closer to Rumai than the other three dialects of Palaung spoken in Dehong, Yunnan Liang, Pule, or Raojin. Based on phonological innovations, this study proposes that Raokot should be classified as a sub-dialect of Rumai. | en_US |
dc.description.abstract | บทความนี้เป็นการศึกษาวิเคราะห์ระบบเสียงทั้งด้านเฉพาะสมัยและข้ามสมัยของ ภาษาเราคตซึ่งเป็นภาษาถิ่นภาษาหนึ่งของภาษาปะหล่อง วัตถุประสงค์หลักคือ เพื่อนำเสนอ ระบบเสียงและเพื่ออภิปรายเกี่ยวกับพัฒนาการทางเสียง ซึ่งช่วยให้สามารถจัดเราคตให้อยู่ใน กลุ่มย่อยกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งของภาษาปะหล่องได้ ข้อมูลที่ใช้วิเคราะห์ได้จากการสอบถาม รายการคำ 1,000 คำ ที่เป็นรายการคำศัพท์ภาษาอังกฤษ ภาษาไทย และภาษาจีน เป็นการเก็บ ข้อมูลจากเจ้าของภาษาที่หมู่บ้านฉาเยชิ่ง แขวงลู่ซี ในเขตปกครองตนเองเต๋อหง ไต-จิงโพ่ มณฑลยูนนาน ผลการวิเคราะห์แสดงให้เห็นว่า เราคตมีรูปแบบระบบเสียงแบบที่เรียกว่า การกลายเป็นเสียงลมจากคอเข้า ซึ่งเหมือนกับสิ่งที่เกิดขึ้นในภาษาระอางของลูซ (Luce, 1965) และภาษากะอางของดิฟฟลอธ (1991) พัฒนาการเชิงประวัติของระบบเสียงเราคตแสดงให้เห็น ลักษณะบางอย่างที่เหมือนกับรูไม เราคตใกล้ชิดกับภาษารูไมมากกว่าภาษาเหลียง, ปูเล และ เราจิน ซึ่งก็เป็นภาษาปะหล่องที่พูดกันในเต๋อหง ประเทศจีน บทความนี้เสนอว่า เราคตควร จัดเป็นภาษาถิ่นย่อยของรูไม | en_US |
dc.identifier.citation | Journal of Language and Culture. Vol.34, No.2 ((Jul - Dec 2015), 53-69 | en_US |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/61999 | |
dc.language.iso | eng | en_US |
dc.rights | Mahidol University | en_US |
dc.rights.holder | Research Institute for Languages and Cultures of Asia Mahidol University | en_US |
dc.subject | Palaung | en_US |
dc.subject | De'ang | en_US |
dc.subject | Raokot | en_US |
dc.subject | Raokot | en_US |
dc.subject | Raokot | en_US |
dc.subject | Rumai | en_US |
dc.subject | phonology | en_US |
dc.subject | Austroasiatic | en_US |
dc.subject | ปะหล่อง | en_US |
dc.subject | เต๋ออาง | en_US |
dc.subject | เราคต | en_US |
dc.subject | รูไม | en_US |
dc.subject | ระบบเสียง | en_US |
dc.subject | ออสโตรเอเชียติก | en_US |
dc.subject | Journal of Language and Culture | en_US |
dc.subject | วารสารภาษาและวัฒนธรรม | en_US |
dc.title | Raok ot dialect of Palaung sp ok en in Yunnan: Phonology and genetic classification | en_US |
dc.title.alternative | ระบบเสียงและการจัดแบ่งกลุ่มภาษาปะหล่องเราคตในยูนนาน | en_US |
dc.type | Research Article | en_US |
dspace.entity.type | Publication |