Publication: หนังตะลุงภาคใต้: การเคลื่อนไหวทางภาษาในสังคมพหุวัฒนธรรม
dc.contributor.advisor | movement of language | |
dc.contributor.author | นุชนันต์ สัจจาเฉลียว | en_US |
dc.contributor.author | สราวุฒิ ไกรเสม | en_US |
dc.contributor.author | Nutchanan Satjachaleaw | en_US |
dc.contributor.author | Sarawut Kraisame | en_US |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย | en_US |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท | |
dc.date.accessioned | 2020-05-05T08:14:33Z | |
dc.date.available | 2020-05-05T08:14:33Z | |
dc.date.created | 2563-05-05 | |
dc.date.issued | 2563 | |
dc.description.abstract | สังคมพหุวัฒนธรรมก่อให้เกิดการสัมผัสกันอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ของภาษา วัฒนธรรม และวิถีชีวิต การสัมผัสกันเหล่านี้ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องในหลายๆ ด้านของสังคม รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงในศิลปะการแสดงพื้นบ้านด้วย หนังตะลุงภาคใต้เป็นหนึ่งในศิลปะการแสดงพื้นบ้านที่มีการเปลี่ยนแปลงไปเนื่องด้วยปัจจัยจากการเป็นสังคมพหุวัฒนธรรมนี้ หนังตะลุงภาคใต้ซึ่งเป็นหนึ่งในศิลปะการแสดงพื้นบ้านที่มีการเปลี่ยนแปลงและปรับตัวไปตามสังคมและวัฒนธรรมที่เปลี่ยนไป โดยมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการนำเสนอเพื่อให้สามารถเข้าถึงผู้ชมในสังคมพหุวัฒนธรรมได้มากขึ้นโดยใช้วิธีการต่างๆ เช่น การจัดแสดงโดยใช้ภาษากลางในการจัดแสดงทั้งเรื่อง การจัดแสดงโดยใช้ภาษาต่างประเทศในการพากย์ทั้งหมดและพากย์บางส่วน รวมทั้งการนำเสนอเรื่องราวที่มีความร่วมสมัยมากยิ่งขึ้น เพื่อให้หนังตะลุงยังคงอยู่ได้ในสังคมปัจจุบันที่เปลี่ยนแปลงไป บทความนี้จึงมุ่งอภิปรายการเปลี่ยนแปลงและปรับตัวของหนังตะลุงภาคใต้ในบริบทการเคลื่อนไหวทางภาษาในสังคมพหุวัฒนธรรมของประเทศไทย | en_US |
dc.description.abstract | This article discusseschanges in shadow plays in southern Thailand’s multicultural society, especially from a language in a multicultural context perspective, multicultural society inevitably leads to contact in terms of language, culture and way of life. These contacts cause continuous changes in many aspects of society, including changes in the folk arts. Southern Thailand’sshadow plays are a form of folk art that has changed as a result of multicuturalism. The study foundedthat shadow plays in this region have modified their presentation format in order to appeal to a larger, more multicultural audienceby using a variety of methods, such as performing in central Thai or foreign languagesand adjustingthe playsto make them move contemporary. These changes served to maketheshadow playsa dynamic part of southern Thailand diversesociety. | |
dc.identifier.citation | วารสารภาษาและวัฒนธรรม. ปีที่ 39, ฉบับที่ 1(ม.ค. -มิ.ย. 2563), 1-18 | en_US |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/54728 | |
dc.language.iso | tha | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.rights.holder | สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.subject | หนังตะลุง | en_US |
dc.subject | ภาคใต้ | en_US |
dc.subject | การเคลื่อนไหวทางภาษา | en_US |
dc.subject | สังคมพหุวัฒนธรรม | en_US |
dc.subject | Journal of Language and Culture | en_US |
dc.subject | วารสารภาษาและวัฒนธรรม | en_US |
dc.subject | shadow plays | |
dc.subject | southern Thailand | |
dc.subject | multicultural society | |
dc.title | หนังตะลุงภาคใต้: การเคลื่อนไหวทางภาษาในสังคมพหุวัฒนธรรม | en_US |
dc.title.alternative | Southern Thailand shadow plays: Language movement in a multicultural society. | en_US |
dc.type | Article | en_US |
dspace.entity.type | Publication | |
mods.location.url | https://so03.tci-thaijo.org/index.php/JLC/article/view/241582/163962 |