Publication: โครงการศึกษาสภาวการณ์ต้นทุนชีวิต นักเรียนมัธยมทั่วประเทศ
Issued Date
2556
Resource Type
Language
tha
Rights
มหาวิทยาลัยมหิดล
Rights Holder(s)
ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย และ สมาคมกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย
Bibliographic Citation
วารสารกุมารเวชศาสตร์. ปีที่ 52, ฉบับที่1 (2556), 36-43
Suggested Citation
สุริยเดว ทรีปาตี, พรรณนิภา สังข์ทอง, สิริวิมล ศาลาจันทร โครงการศึกษาสภาวการณ์ต้นทุนชีวิต นักเรียนมัธยมทั่วประเทศ. วารสารกุมารเวชศาสตร์. ปีที่ 52, ฉบับที่1 (2556), 36-43. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/6561
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
โครงการศึกษาสภาวการณ์ต้นทุนชีวิต นักเรียนมัธยมทั่วประเทศ
Other Contributor(s)
Abstract
จากแนวโน้มของปัญหาสังคมที่หลากหลาย หากวัยรุ่นไทยไม่มีความเข้มแข็งพอที่จะจัดการปัญหาที่ประสบได้ ย่อมนำไปสู่ทางออกที่ไม่พึงปรารถนา ดังนั้นจึงถือเป็นความจำเป็นและสำคัญ
อย่างยิ่งที่จะต้องสร้างและเสริมภูมิคุ้มกันให้วัยรุ่นไทยได้มีต้นทุนชีวิตที่เข้มแข็ง พร้อมที่จะดำรงตน
ได้อย่างปลอดภัยและมีความสุขสถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล
และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ได้พัฒนาเครื่องมือแบบสำรวจ
ต้นทุนชีวิต 5 พลัง (ประกอบด้วยพลังตัวตน พลังครอบครัว พลังสร้างปัญญา พลังเพื่อนและ
กิจกรรม และพลังชุมชน) 48 ตัวชี้วัดเพื่อวางแผนพัฒนาตั้งแต่ระดับชุมชนท้องถิ่นในการพัฒนา
เด็กและเยาวชนด้วยการสะท้อนวิถีชิวตตามตัวชี้วัดและนำประเด็นที่อ่อนแอหรือพลังที่อ่อนแอมา
พัฒนาร่วมกันแบบมีส่วนร่วมAdolescent is an age group of the most vulnerable in risky behaviors but also
be an age of the greatest opportunities for sustain and strengthening their well being.
The National Institute for Child and Family Development, Mahidol University and
Thai Health Promotion Foundation developed a tool of positive youth development in
a Thai life style and culture which is called Life assets questionnaire with 48 indicators
and five main power which is power of self, power of family, wisdom power, power
of peer and power of community. The life assets (positive youth development) survey
tool for Thai adolescents that was developed is a starting point for the development of
community strategies to build up their weakest assets and also meaningful participation
from the power which is the weakest one. The results of measuring the positive model
indicators of Thai adolescents will allow us to know about the weak points in youths’
social immunity in various areas as power of social immunity in youth so that these
indicators can be developed or promoted through activities that are in accordance with
their needs.