Publication: Electrocution death and pathological findings with the metallization in wild elephant: case report
Issued Date
2018
Resource Type
Language
eng
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Faculty of Veterinary Science Mahidol University
Bibliographic Citation
Journal of Applied Animal Science. Vol.11, No.1 (Jan- Apr 2018), 49-56
Suggested Citation
Wasinee Thepapichaikul, Panop wilainam, Parin Suwannaprapha, วาสินี เทพอภิชัยกุล, ภานพ วิไลนาม, ปริญ สุวรรณประภา Electrocution death and pathological findings with the metallization in wild elephant: case report. Journal of Applied Animal Science. Vol.11, No.1 (Jan- Apr 2018), 49-56. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/53989
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Electrocution death and pathological findings with the metallization in wild elephant: case report
Alternative Title(s)
ลักษณะทางพยาธิวิทยาและการสะสมของโลหะบนผิวหนังในช้างป่าที่เสียชีวิตจากการถูกไฟฟ้าช็อต : รายงานสัตว์ป่วย
Abstract
An about 20-year-old, male wild elephant was found dead on the road and electrocution was suspected
to be the cause. Electrocution of wild elephants was rarely documented. On necropsy examination, an electrical mark may be the only external appearance with no appearance of specific gross lesions on the internal organs.
The pathologist will use evidence from the scene with histopathological investigation to make the diagnosis of
the cause of death. The necropsy determined electrical marks on the trunk and legs of the elephant, while
hemorrhage and congestion were found in the lungs, heart and omentum. Microscopically, skin showed epidermal separation with streaming cytonuclear elongation. The metallization of iron and copper were presented on the electric skin burn. The myocardium was fragmented and presented as square nuclei. These findings were typical morphologic changes that supported the differential diagnosis of skin lesions and internal organ damage caused by electrocution. This is the first description of a post-mortem with distinctive histopathologic investigation in electrocution of wild elephant.
ช้างป่า เพศผู้ อายุประมาณ 20 ปี ถูกพบนอนเสียชีวิตอยู่บนถนนในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ในเบื้องต้นเจ้าหน้าที่สันนิษฐานว่าช้างดังกล่าวเสียชีวิตจากการถูกไฟฟ้าช็อต การตรวจชันสูตรการเสียชีวิตจากการถูกไฟฟ้าช็อตถือเป็นเรื่องที่ยากมากสำหรับพยาธิสัตวแพทย์ เนื่องจากรอยโรคที่เกิดจากการถูกไฟฟ้าช็อตไม่มีความจำเพาะ และรอยโรคที่ตรวจพบภายนอกอาจจะเป็นรอยโรคเดียวที่เกิดขึ้นโดยไม่พบวิการอื่นๆ ในอวัยวะภายในเลย ดังนั้น ในการวินิจฉัยการเสียชีวิตจากการถูกไฟฟ้าช็อต จึงต้องอาศัยข้อมูลที่ได้จากที่เกิดเหตุร่วมกับผลทางจุลพยาธิวิทยาในการสรุปสาเหตุของการเสียชีวิต ในกรณีของช้างเชือกนี้พบว่าจากการตรวจสภาพร่างกายภายนอกปรากฏวิการลักษณะคล้ายรอยไหม้ที่เกิดจากการไฟฟ้าช็อตที่ งวงและเท้า และจาการชันสูตรซากพบวิการที่เป็นหย่อมเลือดออกและเลือดคั่งที่ ปอด หัวใจและเยื่อแขวนลำไส้ในช่องท้อง การตรวจทางจุลพยาธิวิทยาพบว่าผิวหนังบริเวณที่เกิดรอยไหม้มีการแยกชั้นออกจากกันของชั้นหนังกำพร้า นอกจากนี้ยังพบว่าเซลล์และนิวเคลียสในชั้นหนังกำพร้ามีลักษณะยืดยาวออกและยังตรวจพบการสะสมของเหล็กและทองแดงบนผิวหนังจากการใช้เทคนิคทางฮีโตเคมี เซลล์กล้ามเนื้อหัวใจมีลักษณะหักเป็นท่อนและพบลักษณะนิวเคลียสมีรูปร่างเป็นสี่เหลี่ยม ลักษณะรอยโรคทางพยาธิวิทยาตาเปล่าและจุลพยาธิวิทยาที่ตรวจพบในช้างเชือกนี้เป็นลักษณะเด่นของวิการที่เกิดจากการถูกไฟฟ้าช็อต รายงานถือเป็นรายงานกรณีสัตว์เสียชีวิตรายงานแรกที่อธิบายถึงการชันสูตรช้างที่มีผลการตรวจทางพยาธิวิทยาตาเปล่า จุลพยาธิวิทยาและฮีลโตเคมี ที่เป็นลักษณะเด่นของรอยโรคอันเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตจากการเสียชีวิตจากการถูกไฟฟ้าช็อต
ช้างป่า เพศผู้ อายุประมาณ 20 ปี ถูกพบนอนเสียชีวิตอยู่บนถนนในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ในเบื้องต้นเจ้าหน้าที่สันนิษฐานว่าช้างดังกล่าวเสียชีวิตจากการถูกไฟฟ้าช็อต การตรวจชันสูตรการเสียชีวิตจากการถูกไฟฟ้าช็อตถือเป็นเรื่องที่ยากมากสำหรับพยาธิสัตวแพทย์ เนื่องจากรอยโรคที่เกิดจากการถูกไฟฟ้าช็อตไม่มีความจำเพาะ และรอยโรคที่ตรวจพบภายนอกอาจจะเป็นรอยโรคเดียวที่เกิดขึ้นโดยไม่พบวิการอื่นๆ ในอวัยวะภายในเลย ดังนั้น ในการวินิจฉัยการเสียชีวิตจากการถูกไฟฟ้าช็อต จึงต้องอาศัยข้อมูลที่ได้จากที่เกิดเหตุร่วมกับผลทางจุลพยาธิวิทยาในการสรุปสาเหตุของการเสียชีวิต ในกรณีของช้างเชือกนี้พบว่าจากการตรวจสภาพร่างกายภายนอกปรากฏวิการลักษณะคล้ายรอยไหม้ที่เกิดจากการไฟฟ้าช็อตที่ งวงและเท้า และจาการชันสูตรซากพบวิการที่เป็นหย่อมเลือดออกและเลือดคั่งที่ ปอด หัวใจและเยื่อแขวนลำไส้ในช่องท้อง การตรวจทางจุลพยาธิวิทยาพบว่าผิวหนังบริเวณที่เกิดรอยไหม้มีการแยกชั้นออกจากกันของชั้นหนังกำพร้า นอกจากนี้ยังพบว่าเซลล์และนิวเคลียสในชั้นหนังกำพร้ามีลักษณะยืดยาวออกและยังตรวจพบการสะสมของเหล็กและทองแดงบนผิวหนังจากการใช้เทคนิคทางฮีโตเคมี เซลล์กล้ามเนื้อหัวใจมีลักษณะหักเป็นท่อนและพบลักษณะนิวเคลียสมีรูปร่างเป็นสี่เหลี่ยม ลักษณะรอยโรคทางพยาธิวิทยาตาเปล่าและจุลพยาธิวิทยาที่ตรวจพบในช้างเชือกนี้เป็นลักษณะเด่นของวิการที่เกิดจากการถูกไฟฟ้าช็อต รายงานถือเป็นรายงานกรณีสัตว์เสียชีวิตรายงานแรกที่อธิบายถึงการชันสูตรช้างที่มีผลการตรวจทางพยาธิวิทยาตาเปล่า จุลพยาธิวิทยาและฮีลโตเคมี ที่เป็นลักษณะเด่นของรอยโรคอันเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตจากการเสียชีวิตจากการถูกไฟฟ้าช็อต