Publication:
ความหลากหลายของค้างคาวที่อาศัยอยู่ในถ้ำในพื้นที่จังหวัดกาญจนบุรี

dc.contributor.authorปุญญพัฒน์ เศษวิสัยen_US
dc.contributor.authorธนศักดิ์ ช่างบรรจงen_US
dc.contributor.authorตติยนุช แช่มใสen_US
dc.contributor.authorศิริพร ตั้งสุดใจen_US
dc.contributor.authorสุขุมาล ฤทธิ์เต็มen_US
dc.contributor.authorทิฆเวท เวฬุวนารักษ์en_US
dc.contributor.authorสินีนาถ เจียมทวีบุญen_US
dc.contributor.authorไพศิลป์ เล็กเจริญen_US
dc.contributor.authorกนิษฐา ตันเชียงสายen_US
dc.contributor.authorกนกพร ไตรวิทยากรen_US
dc.contributor.authorสุรชิต แวงโสธรณ์en_US
dc.contributor.authorรวงรัตน์ พุทธิรงควัตรen_US
dc.contributor.authorกฤษฎา ใจชื้นen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสัตวแพทยศาสตร์. ศูนย์เฝ้าระวังและติดตามโรคจากสัตว์ป่่า สัตว์ต่างถิ่นและสัตว์อพยพen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุลen_US
dc.contributor.otherสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทยen_US
dc.date.accessioned2016-04-26T03:19:54Z
dc.date.accessioned2017-04-10T10:03:26Z
dc.date.available2016-04-26T03:19:54Z
dc.date.available2017-04-10T10:03:26Z
dc.date.created2016-04-26
dc.date.issued2555
dc.description.abstractการศึกษาความหลากหลายของค้างคาวที่อาศัยอยู่ในถ้ำในพื้นที่จังหวัดกาญจนบุรีโดยใช้อุปกรณ์ฮาร์ปแทรบ (harp trap) ได้ดำเนินการระหว่างเดือนเมษายน พ.ศ. 2553 ถึงเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2555 พบค้างคาวทั้งหมด 1,166 ตัว ประกอบด้วยค้างคาว 13 ชนิด จาก 8 สกุล และ 7 วงศ์ ชนิดที่จับได้มากที่สุดในพื้นที่ ได้แก่ ค้างคาวคุณกิตติ ค้างคาวมงกุฎปลอมเล็ก และค้างคาวหูหนูตีนเล็กเขี้ยวสั้น การศึกษานี้ได้รายงานพบค้างคาวหน้าร่องเป็นครั้งแรกในถ้ำแถบภาคตะวันตกของประเทศไทย ความหลากหลายชนิดของค้าวคาวที่พบในถ้ำที่ยุบลงไปใต้ดินจะสูงกว่าในถ้ำที่อยู่เหนือพื้นดิน ดังนั้นผลจากการศึกษาครั้งนี้สามารถใช้ในการจัดการและเป็นแนวทางสำหรับการอนุรักษ์ค้างคาวที่เหมาะสมในพื้นที่ได้en_US
dc.description.abstractThe study of diversity of cave dwelling bats was conducted in Kanchanaburi Province using harp traps between April 2010 and July 2012. A total of 1,166 individuals belonging to 13 species from 8 genera and 7 families were recorded. Hog-nosed Bat (Craseonycteris thonglongyai), Croslet Horseshoe Bat (Rhinolophus coelophyllus) and Thomas's Horseshoe Bat (Myotis siligorensis) were the three most abundant species captured in the areas. Malayan Slit-faced Bat (Nycteris tragata) is new records for cave in Western Thailand. The bat species diversity in the underground cave was higher than the above ground cave. Results of this study provide information for future management and conservation of bats.
dc.identifier.citationJournal of Applied Animal Science. ปีที่ 5, ฉบับที่ 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2555), 15-23en_US
dc.identifier.issn1906-2257
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/1696
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectค้างคาวen_US
dc.subjectความหลากหลายen_US
dc.subjectถ้ำen_US
dc.subjectกาญจนบุรีen_US
dc.subjectbaten_US
dc.subjectdiversityen_US
dc.subjectcaveen_US
dc.subjectKanchanaburi Provinceen_US
dc.subjectOpen Access articleen_US
dc.titleความหลากหลายของค้างคาวที่อาศัยอยู่ในถ้ำในพื้นที่จังหวัดกาญจนบุรีen_US
dc.title.alternativeSpecies diversity of cave dwelling bats in Kanchanaburi Provinceen_US
dc.typeResearch Articleen_US
dspace.entity.typePublication

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
vs-ar-poonyapa-2555.pdf
Size:
1.24 MB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.7 KB
Format:
Plain Text
Description:

Collections