Publication: Association between histological grading, Ki-67, AgNOR, KIT expression pattern and survival time in a dog with mast cell Tumour: A case report
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2020
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
eng
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
Call No.
Other identifier(s)
Journal Title
Volume
Issue
item.page.oaire.edition
Start Page
End Page
Access Rights
Access Status
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Faculty of Veterinary Science Mahidol University
Physical Location
Bibliographic Citation
Journal of Applied Animal Science. Vol.13, No.2 (Jul- Dec 2020), 45-60
Citation
Ploen Nganthavee, Paitoon Srimontri, Tanit Kasantikul, Namphung Suemanotham, เพลิน งานทวี, ไพฑูรย์ ศรีมนตรี, ฐานิต กสานติกุล, น้ำผึ้ง สื่อมโนธรรม (2020). Association between histological grading, Ki-67, AgNOR, KIT expression pattern and survival time in a dog with mast cell Tumour: A case report. Retrieved from: https://hdl.handle.net/20.500.14594/63395.
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Association between histological grading, Ki-67, AgNOR, KIT expression pattern and survival time in a dog with mast cell Tumour: A case report
Alternative Title(s)
ความสัมพันธ์ระหว่างเกรดของเนื้องอก ค่าดัชนีการเพิ่มจำนวนเซลล์ Ki-67 การแสดงออกของ AgNOR และ KIT ต่อระยะเวลารอดชีวิตในสุนัขที่มีเนื้องอกมาสต์เซลล์ : รายงานสัตว์ป่วย
Author's Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor's Affiliation
Corresponding Author(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
A 13-year-old entire male Thai Ridgeback dog presented to Prasu-Arthorn Animal Hospital, Faculty of
Veterinary Science, Mahidol University with a mass on the caudal right flank. Fine needle aspiration (FNA)
revealed round cells with intracytoplasmic granules consistent with mast cell tumour (MCT). Surgical excision
was performed. Histological grading revealed poorly-differentiated, high grade MCT with 18 mitotic figures per
10 high power-fields (HPFs) and KIT staining was consistent with KIT pattern II (focal or stippled cytoplasmic
staining); both of which are associated with poor survival. This contrasted with the better survival time
implicated by low argyrophilic nucleolar organiser region (AgNOR) and Ki-67 scores, which were all below the
cut-off values, suggesting low cellular proliferation. A chemotherapy protocol of vinblastine and prednisolone
was subsequently commenced. Distant recurrence at the neck occurred at 67 days, confirmed to be MCT by
histopathology. The dog later died, with a total survival time of 90 days from diagnosis. The actual survival time
closely aligned with the estimated survival time based on histological grading. With few multivariate survival
analyses available, this case demonstrates the use of AgNOR, Ki-67, and KIT localisation to complement
histological grading for further studies to compare different variables in a clinical setting in Thailand.
สุนัขพันธุ์ไทยหลังอาน เพศผู้ ยังไม่ทำหมัน อายุ 13 ปี เข้ารับการตรวจวินิจฉัยที่โรงพยาบาลสัตว์ประศุอาทร คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เนื่องจากพบก้อนเนื้อบริเวณลำตัวด้านขวา เมื่อทำการเก็บตัวอย่างเซลล์ก้อนเนื้อไปตรวจพบว่าเซลล์มีลักษณะกลมมีไซโทพลาสมิกแกรนนูล สอดคล้องกับเนื้องอกมาสต์เซลล์ สุนัขได้รับการผ่าตัด ผลการตรวจทางจุลพยาธิสรุปได้ว่าเนื้องอกมีเกรดสูง เซลล์ส่วนใหญ่มีพัฒนาการต่ำ และมีการแบ่งตัว (mitotic figure) จำนวน 18 ตัวต่อกำลังขยายของกล้องจุลทรรศน์ขนาดสูง ผลย้อมสีอิมมูโนฮิสโตเคมี พบว่า ค่าAgNOR และ Ki-67 ต่ำกว่าจุดตัด (cut-off value) และมีรูปแบบของการแสดงออกของ KIT แบบ II หรือมีการติดสีในไซโทพลาสซึมลักษณะเป็นหย่อมเฉพาะที่ไม่แพร่กระจาย ผลการตรวจทางพยาธิวิทยาว่าด้วยเกรดและรูปแบบการแสดงออกของ KIT บ่งชี้ถึงการพยากรณืโรคที่ไม่ดี ส่วนผล AgNOR และ Ki-67 ที่มีค่าต่ำกว่าจุดตัดบ่งบอกถึงพยากรณ์โรคที่ดี สุนัขได้รับการรักษาโดยใช้เคมีบำบัดด้วย vinblastine ร่วมกับ prednisolone หลังจากได้รับการวินิจฉัย 67 วันพบการเกิดก้อนเนื้อซ้ำบริเวณคอ โดยผลตรวจทางพยาธิวิทยารายงานเป็นเนื้องอกมาสเตร์เซลล์ สุนัขเสียชีวิตในเวลาต่อมา รวมระยะเวลาทั้งหมด 90 ในกรณีศึกษานี้พบว่าระยะเวลาการรอดชีพทีความสัมพันธ์กับกรดของเนื้องอกมากที่สุด และเนื่องจากขณะนี้ยังมีการศึกษาวิเคราะห์การรอดชีพโดยตัวอปรเชิงพหุเป็นจำนวนน้อย กรณีศึกษานี้จึงบ่งบอกถึงความสำคัญในการใช้ AgNOR Ki-67 และ รูปแบบของการแสดงออกของ KIT เพื่อส่งเสริมการแปลผลเกรดของเนื้องอกสำหรับการเปรียบเทียบเพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในทางคลินิกในประเทศไทย
สุนัขพันธุ์ไทยหลังอาน เพศผู้ ยังไม่ทำหมัน อายุ 13 ปี เข้ารับการตรวจวินิจฉัยที่โรงพยาบาลสัตว์ประศุอาทร คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เนื่องจากพบก้อนเนื้อบริเวณลำตัวด้านขวา เมื่อทำการเก็บตัวอย่างเซลล์ก้อนเนื้อไปตรวจพบว่าเซลล์มีลักษณะกลมมีไซโทพลาสมิกแกรนนูล สอดคล้องกับเนื้องอกมาสต์เซลล์ สุนัขได้รับการผ่าตัด ผลการตรวจทางจุลพยาธิสรุปได้ว่าเนื้องอกมีเกรดสูง เซลล์ส่วนใหญ่มีพัฒนาการต่ำ และมีการแบ่งตัว (mitotic figure) จำนวน 18 ตัวต่อกำลังขยายของกล้องจุลทรรศน์ขนาดสูง ผลย้อมสีอิมมูโนฮิสโตเคมี พบว่า ค่าAgNOR และ Ki-67 ต่ำกว่าจุดตัด (cut-off value) และมีรูปแบบของการแสดงออกของ KIT แบบ II หรือมีการติดสีในไซโทพลาสซึมลักษณะเป็นหย่อมเฉพาะที่ไม่แพร่กระจาย ผลการตรวจทางพยาธิวิทยาว่าด้วยเกรดและรูปแบบการแสดงออกของ KIT บ่งชี้ถึงการพยากรณืโรคที่ไม่ดี ส่วนผล AgNOR และ Ki-67 ที่มีค่าต่ำกว่าจุดตัดบ่งบอกถึงพยากรณ์โรคที่ดี สุนัขได้รับการรักษาโดยใช้เคมีบำบัดด้วย vinblastine ร่วมกับ prednisolone หลังจากได้รับการวินิจฉัย 67 วันพบการเกิดก้อนเนื้อซ้ำบริเวณคอ โดยผลตรวจทางพยาธิวิทยารายงานเป็นเนื้องอกมาสเตร์เซลล์ สุนัขเสียชีวิตในเวลาต่อมา รวมระยะเวลาทั้งหมด 90 ในกรณีศึกษานี้พบว่าระยะเวลาการรอดชีพทีความสัมพันธ์กับกรดของเนื้องอกมากที่สุด และเนื่องจากขณะนี้ยังมีการศึกษาวิเคราะห์การรอดชีพโดยตัวอปรเชิงพหุเป็นจำนวนน้อย กรณีศึกษานี้จึงบ่งบอกถึงความสำคัญในการใช้ AgNOR Ki-67 และ รูปแบบของการแสดงออกของ KIT เพื่อส่งเสริมการแปลผลเกรดของเนื้องอกสำหรับการเปรียบเทียบเพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในทางคลินิกในประเทศไทย