Publication:
Thai children’s new media use at home: Intra-family communication and reverse socialisation

dc.contributor.authorSunida Siwapathomchaien_US
dc.contributor.authorสุนิดา ศิวปฐมชัยen_US
dc.contributor.otherMahidol University. Research Institute for Languages and Cultures of Asiaen_US
dc.contributor.otherMahidol University. Institute of Language and Cultures for Rural Developmenten_US
dc.date.accessioned2022-03-31T08:00:17Z
dc.date.available2022-03-31T08:00:17Z
dc.date.created2022-03-31
dc.date.issued2021
dc.description.abstractThe growth of new media has enabled children and young people to connect with the world in diverse ways. Their use of new media at home has also redefined intra-family communication and altered their role as an agent of socialisation within the family. This paper aims to present a review of the relevant literature on children’s use of new media in Thai families and provide an account of parental mediation strategies, describing how parents optimise their children’s use of new media at home. The paper also provides the cultural background of Thai families, specifically values, beliefs and forms of communication within that context, as well as the discussion of how digital competence becomes an important factor resulting in reverse socialisation within the Thai family. The parental dilemmas revealed in this paper include parents’ perceived benefits (educational values) and concerns (excessive use of new media, exposure to online risks and harm, popularity of mobile phones) over their children’s use of new media technologies. Moreover, the social value of academic achievement encourages time restrictions of new media use as parents prefer their children to spend more time on studying or doing offline activities. However, the types of mediation implemented by parents are also determined by the age of their children, with more restrictive types used mainly with younger children. Also, Thai culture and social values, including an emphasis on parent-child ties, deference to authority and family values; a form of hierarchical culture which assumes that children and young people need to respect and obey parents; and the concept of “Bun-Khun” (gratitude), tentatively results in the way Thai parents choose to employ their parental mediation strategies. However, it is suggested that parents’ use of proactive mediation allow greater agency for the child to participate in dialogue and express their ideas regarding new media issues, and this was especially the case for young people who actively seek autonomy and independence. The paper also highlights the importance of digital competence as a significant factor in parental mediation and children’s negotiation approaches to using new media. Essentially, this is an area in which reverse socialisation occurs within the Thai family context. The implications suggested include an emphasis on more effective support systems, which are needed in Thailand to guide Thai parents in developing their digital competence so that they can enable their children to maximize the benefits derived from the opportunities presented by new media technologies while still keeping them safe from online risks and harm.en_US
dc.description.abstractการเติบโตของสื่อใหม่ทำให้เด็กได้เชื่อมโยงกับโลกภายนอกในรูปแบบที่หลากหลาย การใช้สื่อใหม่ที่บ้านของเด็กก่อให้เกิดนิยามใหม่ของการสื่อสารภายในครอบครัวและปรับเปลี่ยนบทบาทของผู้ทำหน้าที่ขัดเกลาทางสังคมภายในครอบครัว บทความนี้มุ่งที่จะนำเสนอภาพการใช้สื่อใหม่ของเด็กไทยในบริบทครอบครัว จากการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง ซึ่งรวมถึงกลวิธีที่พ่อแม่ดูแลการใช้สื่อใหม่ของลูก โดยบทความนี้ยังได้นำเสนอแง่มุมด้านวัฒนธรรมครอบครัวไทย โดยเฉพาะในประเด็นของค่านิยม ความเชื่อ และรูปแบบการสื่อสารที่เกิดขึ้น และยังได้อภิปรายในประเด็นของสมรรถนะทางดิจิทัลซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อการขัดเกลาทางสังคมที่พลิกผันด้วย บทความนี้ได้แสดงให้เห็นถึงทางเลือกที่ต้องเผชิญของพ่อแม่จากการรับรู้ทั้งข้อดีและข้อเสียของสื่อใหม่ที่ส่งผลต่อความกังวลในด้านต่าง ๆ ทั้งการใช้สื่อใหม่มากเกินไป การเข้าถึงความเสี่ยงและอันตรายออนไลน์ การใช้โทรศัพท์มือถือ ยิ่งไปกว่านั้น ค่านิยมทางสังคมที่ให้ความสำคัญกับการประสบความสำเร็จทางการศึกษาที่กระตุ้นให้เกิดการควบคุมเรื่องเวลาในการใช้สื่อใหม่ของลูก เนื่องจากพ่อแม่ต้องการให้ลูกใช้เวลาในการอ่านหนังสือเรียนหรือทำกิจกรรรมอื่นๆ มากกว่าใช้เวลาออนไลน์ อย่างไรก็ตาม วิธีที่พ่อแม่ใช้ในการดูแลลูกเรื่องการใช้สื่อขึ้นอยู่กับอายุของลูกเป็นสำคัญเช่นกัน ยิ่งลูกอายุน้อย พ่อแม่มักจะใช้การควบคุมเป็นหลัก ยิ่งไปกว่านั้น วัฒนธรรมและค่านิยมทางสังคมไทย ซึ่งหมายรวมถึงการให้คุณค่ากับความผูกพันระหว่างพ่อแม่และลูก การยอมทำตามอำนาจและค่านิยมของครอบครัว วัฒนธรรมการให้ความสำคัญกับลำดับอาวุโส ซึ่งหมายความว่าลูกจำเป็นต้องเคารพและเชื่อฟังพ่อแม่ และแนวคิดเรื่องของ “บุญคุณ” ซึ่งมีแนวโน้มที่จะส่งผลต่อวิธีการที่พ่อแม่ชาวไทยเลือกใช้ในการดูแลการใช้สื่อใหม่ของลูก บทความนี้เน้นย้ำความสำคัญของสมรรถนะทางดิจิทัลในฐานะที่เป็นปัจจัยสำคัญในการดูแลการใช้สื่อใหม่และการต่อรองของลูก ที่สำคัญคือ สิ่งนี้ส่งผลให้เกิดการขัดเกลาทางสังคมที่พลิกผันในบริบทครอบครัวไทย ในประเด็นของกลยุทธ์การดูแลการใช้สื่อใหม่ของลูก การดูแลเชิงรุก (Proactive mediation) ที่เปิดโอกาสให้เด็กได้มีอิสระในการมีส่วนร่วมปฏิสัมพันธ์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประเด็นต่างๆ ในการใช้สื่อใหม่ โดยเฉพาะวัยรุ่นที่ต้องการสิทธิในการเป็นตัวเองและอิสระในการแสดงออก ประเด็นเสนอแนะสำคัญที่คือการเสนอให้มีระบบที่มีประสิทธิภาพที่สามารถสนับสนุนพ่อแม่ในการดูแลการใช้สื่อของลูก ด้วยการให้ความรู้ สนับสนุน และชี้แนะแนวทางให้พ่อแม่มีทักษะและความรู้ทางดิจิทัล เพื่อจะสามารถพัฒนาสมรรถนะในการใช้สื่อใหม่และเพิ่มพูนทักษะในการใช้กลยุทธ์ในการดูแลการใช้สื่อใหม่ของลูกได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้ลูกปลอดภัยและสามารถใช้ประโยชน์จากสื่อใหม่ได้อย่างเต็มที่en_US
dc.identifier.citationJournal of Language and Culture. Vol.40, No.2 (Jul - Dec 2021), 166-196en_US
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/64479
dc.language.isoengen_US
dc.rightsMahidol Universityen_US
dc.rights.holderResearch Institute for Languages and Cultures of Asia Mahidol Universityen_US
dc.subjectNew mediaen_US
dc.subjectThai familyen_US
dc.subjectchildrenen_US
dc.subjectcommunicationen_US
dc.subjectparental mediationen_US
dc.subjectสื่อใหม่en_US
dc.subjectไทยen_US
dc.subjectครอบครัวen_US
dc.subjectเด็กen_US
dc.subjectการสื่อสารen_US
dc.subjectการดูแลการใช้สื่อโดยพ่อแม่en_US
dc.subjectวารสารภาษาและวัฒนธรรมen_US
dc.subjectJournal of Language and Cultureen_US
dc.titleThai children’s new media use at home: Intra-family communication and reverse socialisationen_US
dc.title.alternativeการใช้สื่อใหม่ที่บ้านของเด็กไทย : การสื่อสารในครอบครัวและการขัดเกลาทางสังคมที่พลิกผันen_US
dc.typeArticleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://so03.tci-thaijo.org/index.php/JLC/article/view/257579
Files
Original bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
lc-ar-sunida-2021.pdf
Size:
484.94 KB
Format:
Adobe Portable Document Format
Description:
License bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Loading...
Thumbnail Image
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:
Collections