Publication: Entrepreneurship, Entrepreneurial Orientation, and Educational Entrepreneurship
Issued Date
2019
Resource Type
Language
eng
ISSN
1513-8429
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Mahidol University International College Mahidol University
Bibliographic Citation
Interdisciplinary Studies Journal. Vol. 19 No. 1 (Jan - Jun 2019), 184-209
Suggested Citation
Alexander Nanni Entrepreneurship, Entrepreneurial Orientation, and Educational Entrepreneurship. Interdisciplinary Studies Journal. Vol. 19 No. 1 (Jan - Jun 2019), 184-209. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/72051
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Entrepreneurship, Entrepreneurial Orientation, and Educational Entrepreneurship
Author(s)
Other Contributor(s)
Abstract
This paper explores the constructs of entrepreneurship and entrepreneurial orientation to education with an eye to applying these constructs in the field of education. It traces the evolution of the definition of entrepreneurship from seminal to contemporary literature and assesses various definitions before proposing the use of Morris et al.’s (1994) composite definition for use in research in education. It then investigates two conceptualizations of the entrepreneurial orientation construct, the composite approach and the multidimensional approach. The multidimensional approach proposed by Lumpkin and Dess (1996) is of particular interest, as it is applicable in a wide range of contexts. These understandings of entrepreneurial orientation are then applied to educational entrepreneurship in general and to the educational entrepreneurship framework proposed by Webber and Scott (2008) in particular. Key elements of the definition of entrepreneurship and of entrepreneurial orientation appear in the educational entrepreneurship framework, linking the framework to entrepreneurship research. The findings of this paper have implications for researchers who wish to situate their research on education within the long tradition of research on entrepreneurship.
งานวิจัยชิ้นนี้ศึกษาเรื่องความเป็นผู้ประกอบการและแนวคิดเกี่ยวกับความเป็นผู้ประกอบการด้านการศึกษา โดยมีวัตถุประสงค์คือการนำเอาแนวคิดดังกล่าวมาใช้ในด้านการศึกษา งานวิจัยนี้รวบรวมคำจำกัดความของคำว่า “ความเป็นผู้ประกอบการ” ที่เปลี่ยนแปลงไปตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน มีการประเมินคำจำกัดความต่าง ๆ แล้วจึงเสนอให้ใช้คำจำกัดความที่รวบรวมขึ้นของมอร์ริสและคณะ ( Morris et al, 1994) ในการวิจัยทางด้านการศึกษา จากนั้นจึงศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับการเป็นผู้ประกอบการ 2 แบบ อันได้แก่ แนวคิดแบบรวม และแนวคิดแบบหลายมิติ โดยให้ความสนใจในแนวคิดแบบหลายมิติของลัมพ์กินและเดสส์ (Lumpkin & Dess, 1996) เป็นพิเศษ เนื่องจากสามารถนำไปใช้ได้ในหลากหลายบริบท ความเข้าใจเรื่องแนวคิดเกี่ยวกับความเป็นผู้ประกอบการจะสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับความเป็นผู้ประกอบการด้านการศึกษา และทฤษฎีความเป็นผู้ประกอบการด้านการศึกษาของ เว็บเบอร์และสก็อตต์ (Webber & Scott, 2008) ได้ องค์ประกอบหลักของคำจำกัดความและแนวคิดเกี่ยวกับความเป็นผู้ประกอบการนั้น ปรากฏอยู่ในทฤษฏีความเป็นผู้ประกอบการด้านการศึกษา ซึ่งเชื่อมโยงทฤษฏีดังกล่าวเข้ากับงานวิจัยเกี่ยวกับความเป็นผู้ประกอบการ ข้อสรุปของงานวิจัยนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้วิจัยที่ต้องการศึกษาเกี่ยวกับความเป็นมาของการวิจัยในเรื่องความเป็นผู้ประกอบการ
งานวิจัยชิ้นนี้ศึกษาเรื่องความเป็นผู้ประกอบการและแนวคิดเกี่ยวกับความเป็นผู้ประกอบการด้านการศึกษา โดยมีวัตถุประสงค์คือการนำเอาแนวคิดดังกล่าวมาใช้ในด้านการศึกษา งานวิจัยนี้รวบรวมคำจำกัดความของคำว่า “ความเป็นผู้ประกอบการ” ที่เปลี่ยนแปลงไปตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน มีการประเมินคำจำกัดความต่าง ๆ แล้วจึงเสนอให้ใช้คำจำกัดความที่รวบรวมขึ้นของมอร์ริสและคณะ ( Morris et al, 1994) ในการวิจัยทางด้านการศึกษา จากนั้นจึงศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับการเป็นผู้ประกอบการ 2 แบบ อันได้แก่ แนวคิดแบบรวม และแนวคิดแบบหลายมิติ โดยให้ความสนใจในแนวคิดแบบหลายมิติของลัมพ์กินและเดสส์ (Lumpkin & Dess, 1996) เป็นพิเศษ เนื่องจากสามารถนำไปใช้ได้ในหลากหลายบริบท ความเข้าใจเรื่องแนวคิดเกี่ยวกับความเป็นผู้ประกอบการจะสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับความเป็นผู้ประกอบการด้านการศึกษา และทฤษฎีความเป็นผู้ประกอบการด้านการศึกษาของ เว็บเบอร์และสก็อตต์ (Webber & Scott, 2008) ได้ องค์ประกอบหลักของคำจำกัดความและแนวคิดเกี่ยวกับความเป็นผู้ประกอบการนั้น ปรากฏอยู่ในทฤษฏีความเป็นผู้ประกอบการด้านการศึกษา ซึ่งเชื่อมโยงทฤษฏีดังกล่าวเข้ากับงานวิจัยเกี่ยวกับความเป็นผู้ประกอบการ ข้อสรุปของงานวิจัยนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้วิจัยที่ต้องการศึกษาเกี่ยวกับความเป็นมาของการวิจัยในเรื่องความเป็นผู้ประกอบการ