Publication: The Effects of Heartwood Extracts from Biancaea sappan L. against Coagulase-Negative Staphylococci (CoNS) and Staphylococcus aureus Isolated from Subclinical Mastitis in Dairy Goats
Issued Date
2021
Resource Type
Language
eng
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Journal of Applied Animal Science
Bibliographic Citation
Journal of Applied Animal Science. Vol.14, No.1 (Jan- Jun 2021),31-46
Suggested Citation
Panitnun Leelakhachonchit, Raweephun Phongprai, Wannapa Jiennumwong, Chowalit Nakthong, Norasuthi Bangphoomi, Arpron Leesombun, Orathai Thongjuy, Sookruetai Boonmasawai The Effects of Heartwood Extracts from Biancaea sappan L. against Coagulase-Negative Staphylococci (CoNS) and Staphylococcus aureus Isolated from Subclinical Mastitis in Dairy Goats. Journal of Applied Animal Science. Vol.14, No.1 (Jan- Jun 2021),31-46. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/63397
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
The Effects of Heartwood Extracts from Biancaea sappan L. against Coagulase-Negative Staphylococci (CoNS) and Staphylococcus aureus Isolated from Subclinical Mastitis in Dairy Goats
Alternative Title(s)
ประสิทธิภาพของสารสกัดหยาบจากแก่นฝางในการต้านเชื้อแบคทีเรีย coagulase-negative staphylococci (CoNS) และ Staphylococcus aureus ที่เพาะแยกได้จากโรคเต้านมอักเสบชนิดไม่แสดงอาการในนมแพะ
Other Contributor(s)
Mahidol University. Faculty of Veterinary Science
Mahidol University. Faculty of Veterinary Science. The Center for Veterinary Diagnosis
Mahidol University. Faculty of Veterinary Science. Department of Clinical Sciences and Public Health
Mahidol University. Faculty of Veterinary Science. Department of Pre-clinic and Applied Animal Science
Mahidol University. Faculty of Veterinary Science. The Center for Veterinary Diagnosis
Mahidol University. Faculty of Veterinary Science. Department of Clinical Sciences and Public Health
Mahidol University. Faculty of Veterinary Science. Department of Pre-clinic and Applied Animal Science
Abstract
Subclinical mastitis is an important disease affecting milk quality in dairy goats, and slow to detect because
of non-clinical signs. Subclinical mastitis will progress to clinical mastitis which requires the treatments. The
treatment mainly uses the antimicrobial intra-mammary infusion, and it may cause antimicrobial resistance
problems. Thus, this study aimed to determine the change of milk composition and the antibacterial activity of
ethanolic extracts from Biancaea sappan L. heartwood against bacteria isolated from milk of subclinical mastitis
goats. Eighty-eight milk samples were classified into two groups; control (n=34) and subclinical mastitis group
or SCM (n=54) according to California mastitis test (CMT) score and somatic cell count (SCC). The study showed
that the percentage of lactose significantly decreased (p=0.002) in the subclinical mastitis goats, whereas the fat
contents significantly increased (p=0.014). The changing of milk protein, solids not fat (SNF) and total solid (TS)
contents were not observed. The bacterial identifications from milk samples revealed that the most commonly
isolated bacteria were coagulase-negative staphylococci (CoNS) (n=41, 78.9%) and Staphylococcus aureus
(n=7, 13.5%). The ethanolic extracts from B. sappan showed their antibacterial activity against isolated CoNS
and S. aureus with minimum inhibitory concentration (MIC) range were 0.125-4 mg/ml and 0.125-1 mg/ml,
respectively. These findings indicated that B. sappan ethanolic extracts potentially effected against major
pathogens of subclinical mastitis in dairy goats
โรคเต้านมอักเสบชนิดไม่แสดงอาการเป็นโรคสำคัญที่ส่งผลต่อคุณภาพน้ำนมของแพะ และตรวจสอบได้ช้า เนื่องจากแพะไม่แสดงอาการของโรค โรคมักจะพัฒนาไปเป็นเต้านมอักเสบชนิดแสดงอาการซึ่งต้องการการรักษา การรักษานั้นจะใช้ยาต้านจุลชีพในรูปแบบสอดเต้านมเป็นหลัก และอาจก่อให้เกิดปัญหาการดื้อยาต้านจุลชีพ ดังนั้น การศึกษานี้มีจุดประสงค์เพื่อตรวจวัดการเปลี่ยนแปลงขององค์ประกอบสำคัญในน้ำนม และเพื่อทดสอบฤทธิ์ของสารสกัดด้วยเอทานอลจากแก่นฝางที่มีต่อเชื้อแบคทีเรียที่เพาะแยกได้จากน้ำนมแพะที่เป็นโรคเต้านมอักเสบชนิดไม่แสดงอาการ น้ำนมทั้งหมด 88 ตัวอย่างถูกแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มควบคุม (n=34) และกุล่มเต้านมอักเสบชนิดไม่แสดงอาการ (n=54) จากคะแนนการทดสอบด้วยวิธีแคลิฟอร์เนีย (CMT) และผล somatic cell count (SCC) ผลการศึกษาพบว่า ปริมาณของแลคโตสลดลงอย่างมีนัยสำคัญ (p=0.002) ในแพะที่เป็นโรคเต้านมอักเสบชนิดไม่แสดงอาการ ขณะที่ปริมาณไขมันเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ (p=0.014) ส่วนปริมาณโปรตีนของแข็งไม่รวมไขมันนม และเนื้อนมทั้งหมดไม่พบการเปลี่ยนแปลง การจำแนกเชื้อแบคทีเรียจากตัวอย่างน้ำนมพบว่า เชื้อส่วนใหญ่ที่แยกได้ คือ coagulase-negative staphylococci (CoNS) (n=41, ร้อยละ 78.9) และ Staphylococcus aureus (n=7, ร้อยละ 13.5) ซึ่งสารสกัดด้วยเอทานอลจากแก่นฝางมีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียชนิด CoNS และ S. aureus ที่เพาะแยกได้ โดยมีค่าความเข้มข้นต่ำสุดในการยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรียเท่ากับ 0.125-4 และ 0.125-1 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร ตามลำดับ ผลการศึกษาดังกล่าวแสดงให้เห็นว่า สารสกัดด้วยเอทานอลจากแก่นฝาง มีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียสำคัญที่ก่อโรคของโรคเต้านมอักเสบชนิดไม่แสดงอาการในแพะนม ต้นฝางจึงเป็นพืชที่ควรนำมาศึกษาเพิ่มเติม เพื่อเป็นยารักษาทางเลือกของโรคเต้านมอักเสบในสัตว์เคี้ยวเองขนาดเล็กในประเทศไทย
โรคเต้านมอักเสบชนิดไม่แสดงอาการเป็นโรคสำคัญที่ส่งผลต่อคุณภาพน้ำนมของแพะ และตรวจสอบได้ช้า เนื่องจากแพะไม่แสดงอาการของโรค โรคมักจะพัฒนาไปเป็นเต้านมอักเสบชนิดแสดงอาการซึ่งต้องการการรักษา การรักษานั้นจะใช้ยาต้านจุลชีพในรูปแบบสอดเต้านมเป็นหลัก และอาจก่อให้เกิดปัญหาการดื้อยาต้านจุลชีพ ดังนั้น การศึกษานี้มีจุดประสงค์เพื่อตรวจวัดการเปลี่ยนแปลงขององค์ประกอบสำคัญในน้ำนม และเพื่อทดสอบฤทธิ์ของสารสกัดด้วยเอทานอลจากแก่นฝางที่มีต่อเชื้อแบคทีเรียที่เพาะแยกได้จากน้ำนมแพะที่เป็นโรคเต้านมอักเสบชนิดไม่แสดงอาการ น้ำนมทั้งหมด 88 ตัวอย่างถูกแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มควบคุม (n=34) และกุล่มเต้านมอักเสบชนิดไม่แสดงอาการ (n=54) จากคะแนนการทดสอบด้วยวิธีแคลิฟอร์เนีย (CMT) และผล somatic cell count (SCC) ผลการศึกษาพบว่า ปริมาณของแลคโตสลดลงอย่างมีนัยสำคัญ (p=0.002) ในแพะที่เป็นโรคเต้านมอักเสบชนิดไม่แสดงอาการ ขณะที่ปริมาณไขมันเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ (p=0.014) ส่วนปริมาณโปรตีนของแข็งไม่รวมไขมันนม และเนื้อนมทั้งหมดไม่พบการเปลี่ยนแปลง การจำแนกเชื้อแบคทีเรียจากตัวอย่างน้ำนมพบว่า เชื้อส่วนใหญ่ที่แยกได้ คือ coagulase-negative staphylococci (CoNS) (n=41, ร้อยละ 78.9) และ Staphylococcus aureus (n=7, ร้อยละ 13.5) ซึ่งสารสกัดด้วยเอทานอลจากแก่นฝางมีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียชนิด CoNS และ S. aureus ที่เพาะแยกได้ โดยมีค่าความเข้มข้นต่ำสุดในการยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรียเท่ากับ 0.125-4 และ 0.125-1 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร ตามลำดับ ผลการศึกษาดังกล่าวแสดงให้เห็นว่า สารสกัดด้วยเอทานอลจากแก่นฝาง มีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียสำคัญที่ก่อโรคของโรคเต้านมอักเสบชนิดไม่แสดงอาการในแพะนม ต้นฝางจึงเป็นพืชที่ควรนำมาศึกษาเพิ่มเติม เพื่อเป็นยารักษาทางเลือกของโรคเต้านมอักเสบในสัตว์เคี้ยวเองขนาดเล็กในประเทศไทย