Publication:
แผนที่กลุ่มชาติพันธุ์และภาษาในภูมิภาคตะวันตกของประเทศไทย

dc.contributor.authorสมทรง บุรุษพัฒน์en_US
dc.contributor.authorสุจริตลักษณ์ ดีผดุงen_US
dc.contributor.authorสุมิตรา สุรรัตน์เดชาen_US
dc.contributor.authorณรงค์ อาจสมิติen_US
dc.contributor.authorปัทมา พัฒน์พงษ์en_US
dc.contributor.authorพิเชฐ สีตะพงศ์en_US
dc.contributor.authorSomsonge Burusphat
dc.contributor.authorSujaritlak Deepadung
dc.contributor.authorSumittra Suraratdecha
dc.contributor.authorNarong Ardsmiti
dc.contributor.authorPattama Patpong
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชียen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท
dc.date.accessioned2018-12-19T09:28:37Z
dc.date.available2018-12-19T09:28:37Z
dc.date.created2561-12-09
dc.date.issued2554
dc.description.abstractบทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจกลุ่มชาติพันธุ์ที่อาศัยอยู่ในบริเวณภูมิภาค ตะวันตกของประเทศไทย อันได้แก่ ในอาณาบริเวณ 7 จังหวัด คือ กาญจนบุรี เพชรบุรี ราชบุรี นครปฐม สมุทรสาคร สมุทรสงคราม และสุพรรณบุรี การศึกษาครั้งนี้ดำเนินการโดย การทำวิจัยห้องสมุด การใช้แบบสำรวจกลุ่มชาติพันธุ์ภาษา และการสำรวจภาคสนาม ผลการศึกษาปรากฏว่า มีกลุ่มชาติพันธุ์ทั้งหมด 9 กลุ่มอยู่ในบริเวณ 7 จังหวัดดังกล่าว ได้แก่ กลุ่ม ชาติพันธุ์ไทยโซ่ง ไทยพวน ไทยยวน ลาวครั่ง ลาวใต้ ลาวเวียง ซึ่งอยู่ในตระกูลภาษาไท กลุ่ม ชาติพันธุ์กะเหรี่ยง ซึ่งอยู่ในตระกูลภาษา ทิเบต-พม่า และกลุ่มชาติพันธุ์มอญ และละว้า ซึ่งอยู่ในตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก นอกจากนี้ ผลจากการสำรวจยังได้นำมาสร้างแผนที่กลุ่ม ชาติพันธุ์และภาษา ด้วยระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ โดยแสดงบริเวณที่ใช้ภาษาทั้ง 9 กลุ่มในแต่ละจังหวัดen_US
dc.description.abstractThis article aims to locate ethnic groups residing in the western region of Thailand. The research sites include seven provinces, namely, Kanchanaburi, Phetchaburi, Ratchaburi, Nakhon Pathom, Samut Sakhon, Samut Songkhram, and Suphan Buri. Library research, survey forms and field work are used in this study. The result shows that there are nine ethnic groups in this region: the Tai-Kadai language family – Thai Song, Thai Phuan, Thai Yuan, Lao Khrang, Lao Tay, and Lao Viang; the Tibetan-Burman language family – Karen and the Austroasiatic language family – Mon and Lawa. Ethno-linguistic maps of each ethnic group using geographical information system technology in all of the seven provinces are constructed.en_US
dc.identifier.citationวารสารภาษาและวัฒนธรรม. ปีที่ 30, ฉบับที่ 2 (ก.ค –ธ.ค 2554), 83-114en_US
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/38750
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderสถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล
dc.subjectแผนที่กลุ่มชาติพันธุ์และภาษาen_US
dc.subjectกลุ่มชาติพันธุ์en_US
dc.subjectภูมิภาคตะวันตกของประเทศไทยen_US
dc.subjectวารสารภาษาและวัฒนธรรมen_US
dc.titleแผนที่กลุ่มชาติพันธุ์และภาษาในภูมิภาคตะวันตกของประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeEthno-linguistic maps of the western region of Thailanden_US
dc.typeResearch Articleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://so03.tci-thaijo.org/index.php/JLC/article/view/20272/17614

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
lc-ar-somsonge -2554.pdf
Size:
833.3 KB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections