Publication: How can mental health develop through early childhood learning activities in Japan?
dc.contributor.author | Wimontip Musikaphan | en_US |
dc.contributor.author | Nanthanat Songsiri | en_US |
dc.contributor.author | วิมลทิพย์ มุสิกพันธ์ | en_US |
dc.contributor.author | นันทนัช สงศิริ | en_US |
dc.contributor.other | Mahidol University. National Institute for Child and Family Development | en_US |
dc.date.accessioned | 2021-05-20T08:51:57Z | |
dc.date.available | 2021-05-20T08:51:57Z | |
dc.date.created | 2021-05-20 | |
dc.date.issued | 2019 | |
dc.description.abstract | This qualitative case study investigates concepts on mental health development through early childhood learning concept and activities of Japan. The study sites were an elementary school and a kindergarten in Tokyo, Japan. Data were primarily collected by document research, narrative interviews with sixteen participants and observation with forty five students. Content analysis was used to analyze the data. The key findings are: 1) Japan has encouraged positive attitude as the first step of mental health firmness, following with physical fitness development. 2) Team-based playing is applied as a way to generate personal self-esteem, cooperation and social readiness. 3) Learning by playing is continually promoted. 4) Public mind is embedded in the way of life 5) Learning curriculum is designed and adjusted based on research 6) Simple but delicate education area is focused and 7) Arrangement of mental health educational environment is strongly focused. These finding can be adapted to early childhood and primary education in Thailand since it would help kindergarten, school and parents to hit into the most important point of mental health development as a smart way to “strengthening at heart” of children since they were young. Early childhood education policy for Thailand should be promoted to be based on play-based learning. | en_US |
dc.description.abstract | ารวิจัยเชิงคุณภาพนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิดการพัฒนาสุขภาพจิตใจของเด็กปฐมวัยผ่านการ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในประเทศญี่ปุ่น งานวิจัยเก็บข้อมูลในโรงเรียนประถมศึกษาและโรงเรียนอนุบาลในกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น การเก็บรวบรวมข้อมูลในเบื้องต้นเริ่มจากผู้วิจัยทำการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องก่อน หลังจากนั้น จึงเก็บข้อมูลจากผู้ให้ข้อมูลหลักชาวญี่ปุ่นจำนวน 16 คนและทำการสังเกตกับนักเรียนระดับปฐมวัยทั้งหมด 45 คน ใช้การวิเคราะห์เชิงคุณภาพในการวิเคราะห์แนวคิด กระบวนการ การจัดจำแนกและการสรุปผล ผลการศึกษาพบว่า 1) นักการศึกษาญี่ปุ่นได้ดำเนินการปลูกฝังสิ่งที่เรียกว่า “การคิดบวก” ให้กับเด็กเป็น สิ่งแรกบนความเชื่อที่มั่นคงว่าความคิดบวกจะเป็นคุณสมบัติพื้นฐานที่สำคัญของการสร้างจิตใจให้มีสุขภาพดี เมื่อมีเรื่องคิดบวกแล้ว การออกกำลังกายเพื่อคุณสมบัติที่แข็งแรงทางกายจะต้องดำเนินไปคู่กัน 2) การเล่นเป็นทีม จัดเป็นเครื่องมือสร้างสุขภาพจิตใจที่ดีของเด็กเพราะสิ่งนี้จะสอนเรื่องหลัก 3 เรื่องให้กับเด็กๆ คือ การเคารพนับถือตนเอง การมีนิสัยของการทำานร่วมกับคนอื่นได้และความพร้อมในการเข้าสังคมเมื่อพวกเขาเติบโตขึ้น 3) การเรียนรู้ผ่านการเล่นเป็นเรื่องที่ต้องทำอย่างจริงจังต่อเนื่องในเด็กวัยนี้ 4) การสร้างคุณสมบัติทางจิตใจให้เข้มแข็งด้วย “จิตสาธารณะ” ต้องทำให้เป็นส่วนหนึ่งของชีวิตปกติของเด็กทุกๆ วัน 5) หลักสูตรของเด็กจะต้องผ่านการวิจัยมาแล้วอย่างดีและมีมาตรฐานเดียวกัน 6) หลักสูตรการสอนต้อง “เรียบง่ายแต่อ่อนโยน” และ 7) การสร้างสภาพแวดล้อมเพื่อการสร้างสุขภาพจิตใจที่ดีเป็นเรื่องจำเป็น สำคัญและต้องทำ ข้อค้นพบเหล่านี้จะเป็นประโยชน์ต่อพ่อแม่ โรงเรียนอนุบาล และโรงเรียนประถมศึกษาในประเทศไทยเพราะสิ่งนี้ชี้ให้เห็นว่า “สุขภาพจิตใจที่ดี” เป็นพื้นฐานของการพัฒนามนุษย์ในระยะยาว นโยบายการศึกษาปฐมวัยสำหรับประเทศไทยควรได้รับการส่งเสริมให้มีพื้นฐานมาจากการเรียนรู้ด้วยการเล่น | en_US |
dc.identifier.citation | Journal of Public Health and Development. Vol. 17, No.1 (๋Jan-Apr 2019), 61-73 | en_US |
dc.identifier.issn | 1905-1387 | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/62229 | |
dc.language.iso | eng | en_US |
dc.rights | Mahidol University | en_US |
dc.rights.holder | National Institute for Child and Family Development Mahidol University | en_US |
dc.subject | mental health development | en_US |
dc.subject | early childhood learning activities | en_US |
dc.subject | early childhood education in Japan | en_US |
dc.subject | การพัฒนาสุขภาพจิตใจ | en_US |
dc.subject | กิจกรรมการเรียนรู้ในเด็กปฐมวัย | en_US |
dc.subject | การศึกษาปฐมวัยในประเทศญี่ปุ่น | en_US |
dc.title | How can mental health develop through early childhood learning activities in Japan? | en_US |
dc.title.alternative | ประเทศญี่ปุ่นพัฒนาสุขภาพจิตใจ ผ่านกิจกรรมการเรียนรู้ในเด็กปฐมวัยอย่างไร | en_US |
dc.type | Original Article | en_US |
dspace.entity.type | Publication | |
mods.location.url | https://he01.tci-thaijo.org/index.php/AIHD-MU/article/view/160065/129559 |