Publication: Proto-Tai and Kra-Dai finals *-l and *-c
Issued Date
2009
Resource Type
Language
eng
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Research Institute for Languages and Cultures of Asia Mahidol University
Bibliographic Citation
Journal of Language and Culture. Vol.28, No.2 (Jul. – Dec. 2009), 41-56
Suggested Citation
วีระ โอสถาภิรัตน์, Weera Ostapirat Proto-Tai and Kra-Dai finals *-l and *-c. Journal of Language and Culture. Vol.28, No.2 (Jul. – Dec. 2009), 41-56. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/55729
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Proto-Tai and Kra-Dai finals *-l and *-c
Alternative Title(s)
พยัญชนะสะกด *-1 และ *-c ในภาษาไทและข้า-ไท (ไท-กะได) ดั้งเดิม
Author(s)
Abstract
Two proto-endings *-l and *-c are reconstructed and added to the received system of Proto-Tai final consonants. These additional finals help solve some problems of the otherwise irregular correspondences among dialects, especially between Saek and other Tai varieties. Supporting evidence for these newlyreconstructed sounds can be found not only in Tai but also in related language groups such as Kra, Hlai and Be. The proposed system is shown to be valid for Proto-Kra-Dai as well.
ในบทความนี้ ผู้เขียนได้สืบสร้างพยัญชนะสะกดเสียงข้างลิ้นและเสียงเพดานแข็ง*-1และ *-c ในภาษาไทดั้งเดิม เสียงพยัญชนะสะกดทั้งสอเสียงนี้ไม่ปรากฏ ในระบบเสียงที่สืบสร้างโดยผู้เชี่ยวชาญภาษาไทก่อนหน้านี้ แต่ผู้เขียนได้แสดงให้เห็นถึงหลักฐานสนับสนุนในการสืบสร้างเสียงดักล่าว ทั้งจากภาษาไทถิ่นและจากภาษาข้า-ไท(ไท-กะได) ที่สัมพันธ์กัน การสืบสร้างเสียงทั้งสองนี้ให้เข้าอยู่ในระบบของภาษา ไทดั้งเดิมยังช่วยอธิบายเสียงปฏิภาคที่ไม่เข้า พวกระหว่างภาษาแสกและภาษาไทกลุ่มอื่นๆ ซึ่งคงค้างเป็นปัญหาในหารศึกษาต่างๆ ก่อนหน้านี้ได้อย่างมีเกณฑ์และเป็นระบบ ผู้เขียนได้สรุปให้เห็นด้วยว่า ระบบเสียงพยัญชนะท้ายภาษาไทดั้งเดิมที่นำเสนอใหม่ในบทความนี้ สืบเนื่องมาจากระบบที่มีมาก่อนในภาษาบรรพบุรุษของภาษาข้า-ไท(ไท-กะได)
ในบทความนี้ ผู้เขียนได้สืบสร้างพยัญชนะสะกดเสียงข้างลิ้นและเสียงเพดานแข็ง*-1และ *-c ในภาษาไทดั้งเดิม เสียงพยัญชนะสะกดทั้งสอเสียงนี้ไม่ปรากฏ ในระบบเสียงที่สืบสร้างโดยผู้เชี่ยวชาญภาษาไทก่อนหน้านี้ แต่ผู้เขียนได้แสดงให้เห็นถึงหลักฐานสนับสนุนในการสืบสร้างเสียงดักล่าว ทั้งจากภาษาไทถิ่นและจากภาษาข้า-ไท(ไท-กะได) ที่สัมพันธ์กัน การสืบสร้างเสียงทั้งสองนี้ให้เข้าอยู่ในระบบของภาษา ไทดั้งเดิมยังช่วยอธิบายเสียงปฏิภาคที่ไม่เข้า พวกระหว่างภาษาแสกและภาษาไทกลุ่มอื่นๆ ซึ่งคงค้างเป็นปัญหาในหารศึกษาต่างๆ ก่อนหน้านี้ได้อย่างมีเกณฑ์และเป็นระบบ ผู้เขียนได้สรุปให้เห็นด้วยว่า ระบบเสียงพยัญชนะท้ายภาษาไทดั้งเดิมที่นำเสนอใหม่ในบทความนี้ สืบเนื่องมาจากระบบที่มีมาก่อนในภาษาบรรพบุรุษของภาษาข้า-ไท(ไท-กะได)