Publication:
ชุมชนคนอีสานกับปัญหาความเหลื่อมลํ้าทางสังคมในกรุงเทพมหานคร : กรณีศึกษาชุมชนแห่งหนึ่ง ในกรุงเทพมหานคร

dc.contributor.authorยงยุทธ บุราสิทธิ์en_US
dc.contributor.authorYongyuth Burasithen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย. สาชาวิชาวัฒนธรรมศึกษาen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท
dc.date.accessioned2020-05-20T04:38:26Z
dc.date.available2020-05-20T04:38:26Z
dc.date.created2563-05-20
dc.date.issued2556
dc.description.abstractบทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของงานวิจัยเรื่ องความเหลื่อมล้ำทางสังคมในกรุงเทพมหานคร โดยศึกษาในพื้นที่ชุมชนแออัดแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาความเหลื่อมล้ำทางสังคม โดยใช้กรอบแนวคิดในเรื่องความเสมอภาคและโอกาส กลุ่มเป้าหมายได้การคัดเลือกตัวแทนชุมชนจำนวน 85 คน ที่มีความหลากหลายทั้งในด้านเพศ อายุ การศึกษา อาชีพ และบทบาทหน้าที่ในชุมชน เช่น เยาวชน ผู้สูงอายุ ผู้นำชุมชน คณะกรรมการชุมชน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ การสัมภาษณ์ การสนทนากลุ่ม และการสังเกต ผลการศึกษาพบว่า ชุมชนดังกล่าวเป็นชุมชนที่ชาวบ้านส่วนใหญ่เป็นคนอพยพมาจากภาคอีสานประมาณร้อยละ 80 ในชุมชนยังมีปัญหาความเหลื่อมล้ำในด้านที่อยู่อาศัย ด้านเด็กและเยาวชน และการปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรมโดยอำนาจรัฐ โดยมีข้อเสนอแนะคือ คนในชุมชนเองต้องใช้ความสามารถในการพึงพาตนเองโดยไม่หวังรอคอยความช่วยเหลือจากภาครัฐหรือเจ้าหน้าที่แต่เพียงอย่างเดียว เจ้าหน้าที่รัฐต้องให้ความเสมอภาคและโอกาสในการเข้าถึงบริการจากภาครัฐอย่างเสมอภาค เช่น การเข้ารับบริการด้านสุขภาพและการศึกษาของเยาวชน ให้โอกาสกับผู้อยู่อาศัยที่ไม่ได้ย้ายทะเบียนบ้านเข้ามาในชุมชนen_US
dc.description.abstractThis article is a part of the research project on social inequality in Bangkok. The study site was an Isan Community in Bangkok. The purpose was to study the problems and needs of the community for solving the problem of social inequality. Using the concepts of equality and opportunity. The 85 samples were selected to represent a diverse community in terms of gender, age, education, occupation and role of community members such as the elderly, youth, and member of the community committee. This study uses a qualitative research method including interviews, focus groups, and observations techniques for data analysis. The results show that 80 percent of residents had migrated from Isan (Northeast of Thailand) problems of inequality included housing, children, youth, and an unfair treatment by government officials. The research suggests that people in the community must become self-reliant and not wait for aid from the government. Equal opportunities and equal access to government services must be provided by government agencies such as access to health care and education for the young. Opportunities should also be provided to those households with that remain unregistered in the community.en_US
dc.identifier.citationวารสารภาษาและวัฒนธรรม. ปีที่ 32, ฉบับที่ 1 (ม.ค.- มิ.ย. 2556), 67-92en_US
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/55424
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderสถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectกลุ่มชาติพันธุ์en_US
dc.subjectความเหลื่อมลํ้าทางสังคมen_US
dc.subjectชุมชนคนอีสานen_US
dc.subjectethnic groupsen_US
dc.subjectsocial inequalityen_US
dc.subjectIsan communityen_US
dc.subjectวารสารภาษาและวัฒนธรรมen_US
dc.subjectJournal of Language and Cultureen_US
dc.titleชุมชนคนอีสานกับปัญหาความเหลื่อมลํ้าทางสังคมในกรุงเทพมหานคร : กรณีศึกษาชุมชนแห่งหนึ่ง ในกรุงเทพมหานครen_US
dc.title.alternativeIsan community and social inequality in Bangkok: A case study of an Isan communityen_US
dc.typeResearch Articleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://so03.tci-thaijo.org/index.php/JLC/article/view/20295/17632

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
lc-ar-yongyut-2556.pdf
Size:
369.97 KB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections