Publication:
ประสิทธิภาพระบบ QR Code เพื่อควบคุมครุภัณฑ์ กรณีศึกษา กลุ่มสาขาวิชาจิตรกรรม และศิลปกรรม วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล

dc.contributor.authorธัญญา อุตราภรณ์en_US
dc.contributor.authorเยาวลักษณ์ เก้าเอี้ยนen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. วิทยาลัยนานาชาติen_US
dc.date.accessioned2017-09-12T06:52:21Z
dc.date.available2017-09-12T06:52:21Z
dc.date.created2560-09-12
dc.date.issued2558
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิภาพการใช้ระบบ QR Code (Quick Response Code) เพื่อควบคุมครุภัณฑ์ กรณีศึกษา กลุ่มสาขาวิชาจิตรกรรมและศิลปกรรม วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล และนำผลการวิจัยไปพัฒนา ปรับปรุงระบบ QR Code ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยผู้วิจัยได้ทำการเปรียบเทียบประสิทธิภาพการใช้งานระบบ QR Code กับระบบ MU-ERP ที่ยังคงใช้งานอยู่ในปัจจุบัน พบว่า ระบบ QR Code สามารถลดปริมาณการใช้กระดาษ ลดระยะเวลาในการตรวจนับครุภัณฑ์ประจำปี ลดกำลังคนได้จริง ในส่วนของความน่าเชื่อถือของระบบ QR Code นั้น สามารถตรวจสอบสิทธิการเข้างานในระบบ QR Codeได้ รวมถึงในระบบ QR Code ยังแสดงรูปภาพของครุภัณฑ์เพื่อให้ผู้ใช้งานระบบทราบถึงรูปลักษณะภายนอกของครุภัณฑ์ว่าเป็นอย่างไร ในขณะที่ระบบ MU-ERP ไม่สามารถแสดงข้อมูลชนิดรูปภาพได้ และความคงทนของข้อมูล ระบบ QR Code จะทำการจัดเก็บข้อมูล โดยการตรวจสอบแต่ละครั้งใน Database มีการ Back up ข้อมูลลงใน Server ส่วนกลาง ดังนั้นถึงหากแม้ข้อมูลในเครื่องคอมพิวเตอร์ สำนักงานได้รับความเสียหาย แต่ระบบ QR Code ยังมีข้อมูลสำรองอยู่en_US
dc.description.abstractThis research studies the efficiency of the QR Code system for the durable-articles control. The results of a case study, which was completed at the Fine and Applied Arts Division, Mahidol University International College, Mahidol University (Salaya) were utilized to help develop and adjust the QR Code (Quick Response Code) system to be more effective. The researchers compared the efficiency between the QR Code system and MU-ERP, which is still in current use, and found that the QR Code system can reduce the amount of paper usage, shorten the time to verify the durable articles annually, and reduce manpower. Regarding reliability, the QR Code system is able to verify the access authorization to the system. In addition, the QR Code system is capable of displaying images of durable articles so that users may see the features of equipment, whereas the MU-ERP cannot display pictures. For the data retention, the QR Code system can protect and restore data by verifying the database on a regular basis and backing up data to the main server. Therefore, even if the data in office computers has been damaged, it will be protected by the QR Code system’s backup storage.en_US
dc.identifier.citationวารสารการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย. ปีที่ 2, (ส.ค. 2557), 1-8en_US
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/2811
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderวารสารการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectQR Codeen_US
dc.subjectครุภัณฑ์en_US
dc.subjectประสิทธิภาพen_US
dc.subjectJournal of Professional Routine to Researchen_US
dc.subjectวารสารการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัยen_US
dc.subjectOpen Access articleen_US
dc.titleประสิทธิภาพระบบ QR Code เพื่อควบคุมครุภัณฑ์ กรณีศึกษา กลุ่มสาขาวิชาจิตรกรรม และศิลปกรรม วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.title.alternativeEfficiency of QR Code System: A Case Study of Fine and Applied Arts Division, Mahidol University International Collegeen_US
dc.typeArticleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttp://www.en.mahidol.ac.th/jpr2r/doc/V2_2015/JPR2R%20001-2015.pdf

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ic-ar-thanya-2558.pdf
Size:
573.38 KB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections