Publication: Perspectives on antimicrobial resistance in livestock and livestock products in ASEAN countries
Issued Date
2014
Resource Type
Language
eng
ISSN
0125-6491
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Faculty of Veterinary Science Chulalongkorn University
Bibliographic Citation
Thai J Vet Med. Vol.44, No.1 (Mar 2014), 5-13
Suggested Citation
Amornthep Archawakulathep, Thi Kim, Chung Ta, Meunsene, Dethaloun, DidikHandijatno, Hassim, HaslizaAbu, Rovira, Hope R. G., Myint, Khin Sandar, Baldrias, Loinda R., Sothy, Meas, Aung, Min, Wahyu, Nenny H., Chea, Rortana, Sookruetai Boonmasawai, Vannamahaxay, Soulasack, Sunpetch Angkititrakul, Collantes, Therese M. A., Van, Tho Nguyen, Veerasak Punyapornwithaya, ZunitaZakaria, Rungtip Chuanchuen Perspectives on antimicrobial resistance in livestock and livestock products in ASEAN countries. Thai J Vet Med. Vol.44, No.1 (Mar 2014), 5-13. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/1647
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Perspectives on antimicrobial resistance in livestock and livestock products in ASEAN countries
Alternative Title(s)
ติดตามความเคลื่อนไหวของการดื้อยาในปศุสัตว์และผลิตภัณฑ์จากปศุสัตว์ในประเทศกลุ่มอาเซียน
Author(s)
Amornthep Archawakulathep
Thi Kim, Chung Ta
Meunsene, Dethaloun
DidikHandijatno
Hassim, HaslizaAbu
Rovira, Hope R. G.
Myint, Khin Sandar
Baldrias, Loinda R.
Sothy, Meas
Aung, Min
Wahyu, Nenny H.
Chea, Rortana
Sookruetai Boonmasawai
Vannamahaxay, Soulasack
Sunpetch Angkititrakul
Collantes, Therese M. A.
Van, Tho Nguyen
Veerasak Punyapornwithaya
ZunitaZakaria
Rungtip Chuanchuen
Thi Kim, Chung Ta
Meunsene, Dethaloun
DidikHandijatno
Hassim, HaslizaAbu
Rovira, Hope R. G.
Myint, Khin Sandar
Baldrias, Loinda R.
Sothy, Meas
Aung, Min
Wahyu, Nenny H.
Chea, Rortana
Sookruetai Boonmasawai
Vannamahaxay, Soulasack
Sunpetch Angkititrakul
Collantes, Therese M. A.
Van, Tho Nguyen
Veerasak Punyapornwithaya
ZunitaZakaria
Rungtip Chuanchuen
Other Contributor(s)
Abstract
Antimicrobial resistance (AMR) in bacteria, particularly in foodborne pathogens, has increasingly become apparent in most parts of the world including ASEAN countries, creating great impact on economy, human and animal health and international food trade. The tendency of bacterial pathogens to become multidrug resistant (MDR) is the most serious concern in AMR. The ASEAN Economic Community (AEC) will be fully established in 2015 and ASEAN cooperation has acknowledged the significance of food safety, of which AMR is one of the major concerns. There is a need for all ASEAN nations to harmonize its AMR monitoring and surveillance programmes in order to strengthen the control and institute prevention strategies in the region. Currently, public health systems dealing with monitoring and control in ASEAN countries are still highly diverse and require a unifying action. National monitoring and control programmes for AMR have not been successfully established in most ASEAN countries and a regional-cooperative programme has yet to be set in place. Therefore, a review of current AMR situations in ASEAN member states shall be useful for future development and establishment of monitoring and control programmes within the region.
แบคทีเรียดื้อยาโดยเฉพาะยิ่งแบคทีเรียที่ก่อโรคอาหารเป็นพิษได้อุบัติขึ้นทั่วโลก รวมทั้งประเทศในกลุ่มอาเซียน ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจ สุขภาพคนและสัตว์ และการค้าระหว่างประเทศ สถานการณ์ได้ทวีความรุนแรงมากขึ้นเพราะแบคทีเรียก่อโรคมีแนวโน้มที่จะดื้อยาหลายชนิดพร้อมกัน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนกำลังจะเริ่มขึ้นในปี 2015 และในความร่วมมือของอาเซียนครั้งนี้ได้ให้ความสำคัญต่อความปลอดภัยอาหาร โดยเชื้อดื้อยาเป็นปัญหาด้านความปลอดภัยอาหารที่สำคัญ ในการแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาระดับภูมิภาค ประเทศในกลุ่มอาเซียนต้องมีระบบการตรวจติดตามและเฝ้าระวังเชื้อดื้อยาที่สอดคล้องไปในทิศทางเดียวกันเพื่อให้การควบคุมและป้องกันเชื้อดื้อยาในภูมิภาคเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ แต่ในทางตรงกันข้ามพบว่าประเทศในกลุ่มอาเซียนแต่ละประเทศมีระบบการสาธารณสุขที่มีลักษณะจำเพาะ แตกต่างกันและทำงานเป็นเอกเทศ ส่งผลให้ระบบการตรวจติดตามและควบคุมเชื้อดื้อยาในภูมิภาคมีความหลากหลาย ระบบการตรวจติดตามและควบคุมเชื้อดื้อยาของแต่ละประเทศยังไม่ประสบความสำเร็จเท่าที่ควรและระบบดังกล่าวในระดับภูมิภาคอาจไม่เกิดขึ้นในเร็วๆนี้ ดังนั้นจึงรวบรวมข้อมูลสถานการณ์ปัจจุบันของการดื้อยาในปศุสัตว์และผลิตภัณฑ์จากปศุสัตว์ในประเทศกลุ่มอาเซียน ปัญหาและแนวทางแก้ไข เพื่อใช้ประโยชน์ในการพัฒนาและสร้างความร่วมมือเกี่ยวกับการตรวจติดตามและควบคุมเชื้อดื้อยาในระดับภูมิภาคต่อไปในอนาคต
แบคทีเรียดื้อยาโดยเฉพาะยิ่งแบคทีเรียที่ก่อโรคอาหารเป็นพิษได้อุบัติขึ้นทั่วโลก รวมทั้งประเทศในกลุ่มอาเซียน ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจ สุขภาพคนและสัตว์ และการค้าระหว่างประเทศ สถานการณ์ได้ทวีความรุนแรงมากขึ้นเพราะแบคทีเรียก่อโรคมีแนวโน้มที่จะดื้อยาหลายชนิดพร้อมกัน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนกำลังจะเริ่มขึ้นในปี 2015 และในความร่วมมือของอาเซียนครั้งนี้ได้ให้ความสำคัญต่อความปลอดภัยอาหาร โดยเชื้อดื้อยาเป็นปัญหาด้านความปลอดภัยอาหารที่สำคัญ ในการแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาระดับภูมิภาค ประเทศในกลุ่มอาเซียนต้องมีระบบการตรวจติดตามและเฝ้าระวังเชื้อดื้อยาที่สอดคล้องไปในทิศทางเดียวกันเพื่อให้การควบคุมและป้องกันเชื้อดื้อยาในภูมิภาคเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ แต่ในทางตรงกันข้ามพบว่าประเทศในกลุ่มอาเซียนแต่ละประเทศมีระบบการสาธารณสุขที่มีลักษณะจำเพาะ แตกต่างกันและทำงานเป็นเอกเทศ ส่งผลให้ระบบการตรวจติดตามและควบคุมเชื้อดื้อยาในภูมิภาคมีความหลากหลาย ระบบการตรวจติดตามและควบคุมเชื้อดื้อยาของแต่ละประเทศยังไม่ประสบความสำเร็จเท่าที่ควรและระบบดังกล่าวในระดับภูมิภาคอาจไม่เกิดขึ้นในเร็วๆนี้ ดังนั้นจึงรวบรวมข้อมูลสถานการณ์ปัจจุบันของการดื้อยาในปศุสัตว์และผลิตภัณฑ์จากปศุสัตว์ในประเทศกลุ่มอาเซียน ปัญหาและแนวทางแก้ไข เพื่อใช้ประโยชน์ในการพัฒนาและสร้างความร่วมมือเกี่ยวกับการตรวจติดตามและควบคุมเชื้อดื้อยาในระดับภูมิภาคต่อไปในอนาคต