Team based learning: from paper to paperles
dc.contributor.author | ศรินรัตน์ ศรีประสงค์ | en_US |
dc.contributor.author | Sarinrut Sriprason | en_US |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2021-05-28T03:50:32Z | |
dc.date.available | 2021-05-28T03:50:32Z | |
dc.date.created | 2564-05-28 | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.description | ปัญญามหิดล คุณภาพคน คุณภาพงาน “Mahidol Quality Fair 2018” “Valuing People : คุณค่าคน คุณค่างาน”. ณ อาคารมหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา, นครปฐม. 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561. หน้า 65 | en_US |
dc.description.abstract | การเรียนแบบทีม (Team based learning) เป็นวิธีการเรียนแบบห้องเรียนกลับทางวิธีหนึ่ง ที่เน้นการแก้ปัญหาแบบกลุ่ม วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาการใช้เทคโนโลยีช่วยในกิจกรรมหลักของการเรียน คือ การทดสอบการเตรียมความพร้อมของผู้เรียน (readiness assurance tests) และการให้ข้อมูลย้อนกลับต่อนักศึกษา เพื่อให้บรรลุผลลัพธ์การเรียนรู้ที่ต้องการ การพัฒนาและดำเนินการ ใช้แนวคิด Deming Cycle คือ PDCA ร่วมกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู้แบบร่วมมือ จำนวน 3 รอบ คือ 0) ก่อนการใช้สื่อเทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์ ในการจัดการเรียนแบบทีม 1) การใช้ Google form ร่วมกับการใช้กระดาษ และ 2) การใช้Google form ร่วมกับ Quizizz ในนักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิต ชั้นปีที่ 3 จำนวนกลุ่มละ 37 - 92 คน วัดผลลัพธ์จากความเป็นไปได้ ความพึงพอใจของนักศึกษา ผลลัพธ์ข้อดีคือสะดวก รวดเร็ว อาจารย์ลดภาระก่อนและหลังการสอน นักศึกษามีความพึงพอใจ ควบคุมเวลาได้ดีข้อเสีย คือ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ไม่เพียงพอ internet ช้า นักศึกษายังไม่คุ้นเคยและคิดว่าเป็นการเล่นเกมเพื่อทำคะแนน ดังนั้น การพัฒนาการใช้เทคโนโลยีมาประกอบการสอนทำให้เกิดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ | en_US |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/62324 | |
dc.language.iso | tha | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.rights.holder | กองพัฒนาคุณภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.subject | การเรียนแบบทีม | en_US |
dc.subject | การใช้เทคโนโลยี | en_US |
dc.subject | ความพึงพอใจ | en_US |
dc.subject | Mahidol Quality Fair | |
dc.title | Team based learning: from paper to paperles | en_US |
dc.type | Proceeding Abstract | en_US |