IL-Intellectual Property

Permanent URI for this collectionhttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/52794

Browse

Recent Submissions

Now showing 1 - 5 of 5
  • Item
    เกมล่าสมบัติเพื่อเรียนรู้โค๊ดติ้งโดยไม่ใช้คอมพิวเตอร์
    อริญชยา ตรีคุณประภา; มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันนวัตกรรมการเรียนรู้
  • Item
    ชุดทดลองกฎการอนุรักษ์พลังงาน
    มนต์อมร ปรีชารัตน์; มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันนวัตกรรมการเรียนรู้
  • Item
    แบบจำลองสำหรับการฝึกปฏิบัติการใส่ท่อระบายในช่องอก
    (2562) ทัศนียา รัตนฤาทัย นพรัตน์แจ่มจำรัส; วีระพงษ์ ภูมิรัตนประพิณ; สุชัย นพรัตน์แจ่มจำรัส; Phone Myint Hlaing; มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันนวัตกรรมการเรียนรู้
    แบบจำลองสำหรับการฝึกปฏิบัติการการใส่ท่อระบายในช่องอก เป็นแบบจำลองเพื่อให้บุคลากรทางการแพทย์ รวมทั้งนักศึกษาแพทย์สามารถฝึกปฏิบัติเสมือนจริงได้อย่างทั่วถึง ไม่แบ่งแยกด้วยข้อจำกัดทางศาสนาและงบประมาณของโรงเรียนแพทย์ โดยมีคุณสมบัติดังนี้ มีความสมจริงในการเรียนหรือฝึกปฏิบัติ ราคาประหยัด ไม่ต้องกังวลเรื่องการติดเชื้อ ดูแลรักษาได้ง่าย ทนทาน ใช้ซ้ำได้หลายครั้ง รองรับผู้ใช้งานได้จำนวนมาก มีระบบสัญญาณเตือนเมื่อปฏิบัติการไม่ถูกต้อง ซึ่งเป็นการเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติซ้ำได้ ก่อนที่นักศึกษาจะไปพบผู้ป่วยจริงในโรงพยาบาล ทดลองใช้กับนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ ๖ ของสถาบันการศึกษาแห่งหนึ่ง จำนวน ๔๖ คน พบว่าความรู้และทักษะการใส่ท่อระบายในช่องอกตามขั้นตอนทางการแพทย์ที่ถูกต้องของนักศึกษาแพทย์กลุ่มดังกล่าวสูงขึ้น และพบว่านักศึกษามีความพึงพอใจในการได้รับประสบการณ์การเรียนการใส่ท่อระบายในช่องอกโดยใช้แบบจำลองที่ประดิษฐ์ขึ้น
  • Item
    แบบจำลองสำหรับการฝึกปฏิบัติการเจาะเยื่อหุ้มหัวใจ
    (2562) ทัศนียา รัตนฤาทัย นพรัตน์แจ่มจำรัส; มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันนวัตกรรมการเรียนรู้
    แบบจำลองสำหรับการฝึกปฏิบัติการเจาะเยื่อหุ้มหัวใจ เป็นแบบจำลองเพื่อให้บุคลากรทางการแพทย์ รวมทั้งนักศึกษาแพทย์สามารถฝึกปฏิบัติเสมือนจริงได้อย่างทั่วถึง โดยไม่แบ่งแยกโอกาสด้วยข้อจำกัด ทางศาสนา โดยมีคุณสมบัติ คือมีความสมจริงในการเรียนหรือฝึกปฏิบัติ ราคาประหยัด ไม่ต้องกังวลเรื่อง การติดเชื้อ ขนาดกะทัดรัด มีน้ำหนักไม่มาก เคลื่อนย้ายได้ง่าย ดูแลรักษาได้ง่าย ทนทาน ใช้ซ้ำได้หลายครั้ง รองรับผู้ใช้งานได้จำนวนมาก เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติซ้ำได้ ก่อนที่นักศึกษาจะไปพบผู้ป่วยจริง ในโรงพยาบาล ทดลองใช้กับนักศึกษาแพทย์ ชั้นปีที่ ๖ ของสถาบันการศึกษาแห่งหนึ่ง จำนวน ๕๐ คน พบว่าความเชื่อมั่นของนักศึกษาสูงขึ้นหลังจากการได้ฝึกปฏิบัติโดยใช้แบบจำลองการเจาะเยื่อหุ้มหัวใจ เพื่อระบายของเหลวร่วมกับเครื่องอัลตราซาวด์ และ ภาพที่เห็นจากอัลตราซาวด์ประกอบกับการใช้แบบจำลองที่ประดิษฐ์ขึ้นมีความชัดเจน
  • Item
    เกมคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา เรื่องการอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้าภายในบ้าน
    พัชรินทร์ ปัญจนบุรี; มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันนวัตกรรมการเรียนรู้