Publication: Music Therapy to Enhance Quality of Life in a Patient with Cancer in Palliative Care: A Case Study
Issued Date
2019
Resource Type
Language
eng
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Ratchasuda College Mahidol University
Bibliographic Citation
Journal of Ratchasuda College, Research and Development of Persons With Disabilities. Vol. 15, No. 2 (July - Dec 2019), 4-21
Suggested Citation
Thaya Sangaroon, Natee Chiengchana, Ampai Buranapapuk, ทยา แสงอรุณ, นัทธี เชียงชะนา, อำไพ บูรณประพฤกษ Music Therapy to Enhance Quality of Life in a Patient with Cancer in Palliative Care: A Case Study. Journal of Ratchasuda College, Research and Development of Persons With Disabilities. Vol. 15, No. 2 (July - Dec 2019), 4-21. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/54075
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Music Therapy to Enhance Quality of Life in a Patient with Cancer in Palliative Care: A Case Study
Alternative Title(s)
ดนตรีบบำบัดเพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคมะเร็ง ในการดูแลแบบประคับประคอง: การวิจัยกรณีศึกษา
Other Contributor(s)
Abstract
The purpose of this study was to investigate the use of music therapy to enhance quality
of life in a patient with cancer in palliative care. The experimental case study was utilized in this
study to collect data through a series of observation and interviews. In this study, there were three
participants who were the patient, the caregiver, and the nurse. The initial assessment was provided
before the first music therapy session phase. The music therapy sessions consisted of five sessions
within three weeks with the patient and the caregiver. Music therapy interventions included live
music, singing and playing instruments, song choice, lyric analysis, and reminiscence. The interviews
were provided at the end of the week with the caregiver and the nurse separately which aimed to
investigate the changes of patient’s quality of life after participating in music therapy services. The
results of this were presented in the qualitative case analysis and inductive analysis.
The results of this study determined that the patient’s quality of life was enhanced especially in emotion, environment, physical comfort, and all satisfaction domains. In addition, music
therapy also helped the caregiver to accept the situation and use music to reminisce the patient.
Meanwhile, the medical staff also benefited the use of music therapy in hospital
การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของดนตรีบำบัดในการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคมะเร็ง ในการดูแลแบบประคับประคอง โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบผสมผสานระหว่างการวิจัยกึ่งทดลอง และการวิจัย กรณีศึกษา (Experimental case study) ผู้เข้าร่วมวิจัยประกอบด้วย 3 ท่าน ได้แก่ ผู้ป่วย ผู้ดูแล และพยาบาล ขั้นตอนในการวิจัยประกอบไปด้วย ขั้นตอนประเมินเบื้องต้น ซึ่งเป็นการศึกษาข้อมูลพื้นฐานและประเมินผู้ป่วย ก่อนการเข้ารับดนตรีบำบัด ขั้นตอนต่อไปคือการให้ดนตรีบำบัด รวมทั้งหมด 5 ครั้ง ในระยะเวลา 3 สัปดาห์ การให้ดนตรีบำบัดในครั้งนี้มีผู้ดูแลร่วมทำกิจกรรมดนตรีบำบัดกับผู้ป่วย กิจกรรมดนตรีบำบัดประกอบไปด้วย การใช้ดนตรีสด การร้องเพลงและเล่นเครื่องดนตรี การเลือกเพลง การวิเคราะห์เนื้อเพลง และการรำลึกความหลัง ผ่านบทเพลง นอกจากนี้มีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ผู้ดูแลและพยาบาลสัปดาห์ละครั้งเพื่อศึกษา ความคิดเห็นเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยหลังจากการเข้ารับดนตรีบำบัดในแต่ละครั้ง การวิเคราะห์ ข้อมูลในงานวิจัยนี้ใช้การวิเคราะห์กรณีศึกษาเชิงคุณภาพและการวิเคราะห์แบบอุปนัย ผลการวิจัยครั้งนี้พบว่า ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นโดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านอารมณ์ ด้านสภาพแวดล้อม ด้านร่างกาย และความพึงพอใจโดยรวม จากการเห็นตรงกันในบทสัมภาษณ์ของทั้งผู้ดูแลและพยาบาล รวมไปถึง สังเกตการณ์ของผู้วิจัย นอกจากนี้ดนตรีบำบัดยังช่วยให้ผู้ดูแลเตรียมใจรับกับสถานการณ์ที่จะเกิดขึ้นได้และใช้เพลง เพื่อเป็นสิ่งระลึกถึงผู้ป่วยเมื่อยามจากไป ทั้งนี้ดนตรีบำบัดยังช่วยเสริมการทำงานของบุคลากรทางการแพทย์อีกด้วย ซึ่งการวิจัยครั้งนี้สนับสนุนว่าดนตรีบำบัดนั้นช่วยเพิ่มคุณภาพชีวิตให้ผู้ป่วยโรคมะเร็งในการดูแลแบบประคับประคอง
การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของดนตรีบำบัดในการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคมะเร็ง ในการดูแลแบบประคับประคอง โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบผสมผสานระหว่างการวิจัยกึ่งทดลอง และการวิจัย กรณีศึกษา (Experimental case study) ผู้เข้าร่วมวิจัยประกอบด้วย 3 ท่าน ได้แก่ ผู้ป่วย ผู้ดูแล และพยาบาล ขั้นตอนในการวิจัยประกอบไปด้วย ขั้นตอนประเมินเบื้องต้น ซึ่งเป็นการศึกษาข้อมูลพื้นฐานและประเมินผู้ป่วย ก่อนการเข้ารับดนตรีบำบัด ขั้นตอนต่อไปคือการให้ดนตรีบำบัด รวมทั้งหมด 5 ครั้ง ในระยะเวลา 3 สัปดาห์ การให้ดนตรีบำบัดในครั้งนี้มีผู้ดูแลร่วมทำกิจกรรมดนตรีบำบัดกับผู้ป่วย กิจกรรมดนตรีบำบัดประกอบไปด้วย การใช้ดนตรีสด การร้องเพลงและเล่นเครื่องดนตรี การเลือกเพลง การวิเคราะห์เนื้อเพลง และการรำลึกความหลัง ผ่านบทเพลง นอกจากนี้มีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ผู้ดูแลและพยาบาลสัปดาห์ละครั้งเพื่อศึกษา ความคิดเห็นเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยหลังจากการเข้ารับดนตรีบำบัดในแต่ละครั้ง การวิเคราะห์ ข้อมูลในงานวิจัยนี้ใช้การวิเคราะห์กรณีศึกษาเชิงคุณภาพและการวิเคราะห์แบบอุปนัย ผลการวิจัยครั้งนี้พบว่า ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นโดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านอารมณ์ ด้านสภาพแวดล้อม ด้านร่างกาย และความพึงพอใจโดยรวม จากการเห็นตรงกันในบทสัมภาษณ์ของทั้งผู้ดูแลและพยาบาล รวมไปถึง สังเกตการณ์ของผู้วิจัย นอกจากนี้ดนตรีบำบัดยังช่วยให้ผู้ดูแลเตรียมใจรับกับสถานการณ์ที่จะเกิดขึ้นได้และใช้เพลง เพื่อเป็นสิ่งระลึกถึงผู้ป่วยเมื่อยามจากไป ทั้งนี้ดนตรีบำบัดยังช่วยเสริมการทำงานของบุคลากรทางการแพทย์อีกด้วย ซึ่งการวิจัยครั้งนี้สนับสนุนว่าดนตรีบำบัดนั้นช่วยเพิ่มคุณภาพชีวิตให้ผู้ป่วยโรคมะเร็งในการดูแลแบบประคับประคอง