Publication: Distinguishing Infiltrative Transitional Cell Carcinoma From Other Infiltrative Lesions of the Kidneys on Multidetector Computed Tomography
Issued Date
2019
Resource Type
Language
eng
ISSN
0125-3611 (Print)
2651-0561 (Online)
2651-0561 (Online)
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Department of Diagnostic and Therapeutic Radiology Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Bibliographic Citation
Ramathibodi Medical Journal. Vol. 42, No. 4 (October-December 2019), 1-11
Suggested Citation
Pornphan Wibulpolprasert, Sasiwimon Jungtheerapanich, Bussanee Wibulpolprasert, พรพรรณ วิบุลผลประเสริฐ, ศศิวิมล จึงธีรพานิช, บุษณี วิบุลผลประเสริฐ Distinguishing Infiltrative Transitional Cell Carcinoma From Other Infiltrative Lesions of the Kidneys on Multidetector Computed Tomography. Ramathibodi Medical Journal. Vol. 42, No. 4 (October-December 2019), 1-11. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/72269
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Distinguishing Infiltrative Transitional Cell Carcinoma From Other Infiltrative Lesions of the Kidneys on Multidetector Computed Tomography
Alternative Title(s)
การแยกมะเร็งของไตชนิดเซลล์ทรานซิชันนอลออกจากพยาธิสภาพอื่นที่มีลักษณะขอบเขตไม่ชัดเจนจากภาพเอกซเรย์คอมพิวเตอร์
Abstract
Background: The infiltrative renal growth pattern is either characteristic of certain prototype transitional cell carcinomas (TCCs) or other mimickers. Specific computed tomography (CT) features may be used to differentiate TCCs from other overlap findings. Accurate early diagnosis is important to improve treatment outcome and prevent morbidity and mortality from delayed specific treatment.
Objective: To determine the multidetector computed tomography (MDCT) features that discriminate infiltrative TCCs from other infiltrative renal lesions.
Methods: A retrospective review was performed on patients with infiltrative, proven renal lesions on CT from January 2008 to July 2014. Individual CT sequences were analyzed for lesion number, location, size, and density on unenhanced and nephrographic phase scans. Final diagnoses were confirmed by histopathology or clinical or imaging follow-up after treatment. The CT findings of intrarenal TCCs and mimics were compared by using logistic regression analysis.
Results: In 73 patients, there were 18 (24.6%) TCCs, 2 (2.7%) renal cell carcinomas (RCCs), 11 (15.1%) lymphomas, 15 (20.5%) renal parenchymal metastases, 17 (23.3%) infections, and 10 (13.7%) other diagnosis. Compared to non-TCCs, intrarenal TCCs were more likely to be solitary lesion, lack intralesional calcification, less avidly enhance in nephrographic phase and infiltrate pelvicalyceal and perinephric tissue (P < .05).
Conclusions: Five MDCT features including solitary lesion, absence of calcification and poor absolute, relative enhancement, pelvicalyceal system involvement, and perinephric tissue invasion were significantly associated with intrarenal and infiltrative TCCs.
บทนำ: ลักษณะของก้อนในไตที่ขอบเขตไม่ชัดเจนเป็นลักษณะจำเพาะอย่างหนึ่งของมะเร็งไตชนิดเซลล์ทรานซิชันนอล (Transitional cell carcinoma, TCC) และอาจเกิดจากสาเหตุอื่นได้เช่นกัน การวินิจฉัยที่ถูกต้องและรวดเร็วมีความสำคัญอย่างยิ่งที่จะช่วยให้ผู้ป่วยได้รับผลการรักษาที่ดีที่สุด วัตถุประสงค์: เพื่อระบุลักษณะจากภาพเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (Multidetector computed tomography, MDCT) ในการแยกมะเร็งของไตชนิดเซลล์ทรานซิชันนอลออกจากพยาธิสภาพอื่น วิธีการศึกษา: การศึกษาย้อนหลังในกลุ่มผู้ป่วยที่มีลักษณะก้อนในไตที่ขอบเขตไม่ชัดเจนจากภาพเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ในช่วงเดือนมกราคม พ.ศ. 2551 ถึงเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2557 ลักษณะต่างๆ ที่เห็นจากภาพเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ นำมาเปรียบเทียบกับผลการวินิจฉัยสุดท้ายโดยผลพิสูจน์ชิ้นเนื้อหรือการติดตามอาการ และติดตามภาพถ่ายรังสี จากนั้นทำการวิเคราะห์โดยใช้สถิติ Logistic regression analysis ผลการศึกษา: ผู้ป่วย จำนวน 73 คน ที่มีก้อนขอบเขตไม่ชัดเจนในไต แบ่งเป็น มะเร็งไตชนิดเซลล์ทรานซิชันนอล จำนวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 24.6 มะเร็งไตชนิดเซลล์เนื้อเยื่อไต (Renal cell carcinoma, RCC) จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 2.7 มะเร็งไตจากเซลล์มะเร็งต่อมน้ำเหลือง (Lymphoma) จำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 15.1 มะเร็งไตจากการกระจายมาจากมะเร็งของอวัยวะอื่น (Renal parenchymal metastasis) จำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 20.5 ก้อนเนื้อในไตจากการติดเชื้อ จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 23.3 และก้อนเนื้อในไตจากสาเหตุอื่นๆ จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 13.7 โดยมะเร็งไตชนิดเซลล์ทรานซิชันนอลมีแนวโน้มที่จะมีลักษณะเป็นก้อนเดี่ยว ไม่มีหินปูนภายในก้อน ก้อนมีสัญญาณความเข้มหลังฉีดสารทึบรังสีน้อยจากภาพเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ และมักจะมีลักษณะรุกล้ำไปที่ทางเดินปัสสาวะของกรวยไต และเนื้อเยื่อรอบไต เมื่อเปรียบเทียบกับพยาธิสภาพอื่นอย่างมีนัยสำคัญ (P < .05) สรุป: ลักษณะสำคัญ 4 อย่างจากภาพเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ของก้อนเนื้อในไตที่มีขอบเขตไม่ชัดเจน ได้แก่การเป็นก้อนเดี่ยว ไม่มีหินปูนภายในก้อน enhancement น้อย และการรุกล้ำไปที่ทางเดินปัสสาวะบริเวณกรวยไต และเนื้อเยื่อรอบไต เป็นลักษณะที่สัมพันธ์กับเนื้องอกของไตชนิด TCC เมื่อเทียบกับพยาธิสภาพ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
บทนำ: ลักษณะของก้อนในไตที่ขอบเขตไม่ชัดเจนเป็นลักษณะจำเพาะอย่างหนึ่งของมะเร็งไตชนิดเซลล์ทรานซิชันนอล (Transitional cell carcinoma, TCC) และอาจเกิดจากสาเหตุอื่นได้เช่นกัน การวินิจฉัยที่ถูกต้องและรวดเร็วมีความสำคัญอย่างยิ่งที่จะช่วยให้ผู้ป่วยได้รับผลการรักษาที่ดีที่สุด วัตถุประสงค์: เพื่อระบุลักษณะจากภาพเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (Multidetector computed tomography, MDCT) ในการแยกมะเร็งของไตชนิดเซลล์ทรานซิชันนอลออกจากพยาธิสภาพอื่น วิธีการศึกษา: การศึกษาย้อนหลังในกลุ่มผู้ป่วยที่มีลักษณะก้อนในไตที่ขอบเขตไม่ชัดเจนจากภาพเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ในช่วงเดือนมกราคม พ.ศ. 2551 ถึงเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2557 ลักษณะต่างๆ ที่เห็นจากภาพเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ นำมาเปรียบเทียบกับผลการวินิจฉัยสุดท้ายโดยผลพิสูจน์ชิ้นเนื้อหรือการติดตามอาการ และติดตามภาพถ่ายรังสี จากนั้นทำการวิเคราะห์โดยใช้สถิติ Logistic regression analysis ผลการศึกษา: ผู้ป่วย จำนวน 73 คน ที่มีก้อนขอบเขตไม่ชัดเจนในไต แบ่งเป็น มะเร็งไตชนิดเซลล์ทรานซิชันนอล จำนวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 24.6 มะเร็งไตชนิดเซลล์เนื้อเยื่อไต (Renal cell carcinoma, RCC) จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 2.7 มะเร็งไตจากเซลล์มะเร็งต่อมน้ำเหลือง (Lymphoma) จำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 15.1 มะเร็งไตจากการกระจายมาจากมะเร็งของอวัยวะอื่น (Renal parenchymal metastasis) จำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 20.5 ก้อนเนื้อในไตจากการติดเชื้อ จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 23.3 และก้อนเนื้อในไตจากสาเหตุอื่นๆ จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 13.7 โดยมะเร็งไตชนิดเซลล์ทรานซิชันนอลมีแนวโน้มที่จะมีลักษณะเป็นก้อนเดี่ยว ไม่มีหินปูนภายในก้อน ก้อนมีสัญญาณความเข้มหลังฉีดสารทึบรังสีน้อยจากภาพเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ และมักจะมีลักษณะรุกล้ำไปที่ทางเดินปัสสาวะของกรวยไต และเนื้อเยื่อรอบไต เมื่อเปรียบเทียบกับพยาธิสภาพอื่นอย่างมีนัยสำคัญ (P < .05) สรุป: ลักษณะสำคัญ 4 อย่างจากภาพเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ของก้อนเนื้อในไตที่มีขอบเขตไม่ชัดเจน ได้แก่การเป็นก้อนเดี่ยว ไม่มีหินปูนภายในก้อน enhancement น้อย และการรุกล้ำไปที่ทางเดินปัสสาวะบริเวณกรวยไต และเนื้อเยื่อรอบไต เป็นลักษณะที่สัมพันธ์กับเนื้องอกของไตชนิด TCC เมื่อเทียบกับพยาธิสภาพ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ