Publication: Establishment of Biochemical Screening for Fabry Disease in Ramathibodi Hospital Using Dried Blood Spot and Fluorometry Assay
Issued Date
2014
Resource Type
Language
eng
ISSN
0125-3611 (Print)
2651-0561 (Online)
2651-0561 (Online)
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Research Center Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Department of Medicine Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Department of Medicine Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Bibliographic Citation
Ramathibodi Medical Journal. Vol. 37, No. 4 (Oct-Dec 2014), 183-191
Suggested Citation
Paisan Jittorntam, Sarunpong Pibalyart, Saowanee Kajanachumpol, Norasak Suvachittanont, Arkom Nongnuch, Objoon Trachoo, ไพศาล จิตธรธรรม, ศรัณย์พงศ์ ภิบาลญาติ, เสาวนีย์ กาญจนชุมพล, นรศักดิ์ สุวจิตตานนท์, อาคม นงนุช, โอบจุฬ ตราชู Establishment of Biochemical Screening for Fabry Disease in Ramathibodi Hospital Using Dried Blood Spot and Fluorometry Assay. Ramathibodi Medical Journal. Vol. 37, No. 4 (Oct-Dec 2014), 183-191. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79689
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Establishment of Biochemical Screening for Fabry Disease in Ramathibodi Hospital Using Dried Blood Spot and Fluorometry Assay
Alternative Title(s)
การจัดตั้งการตรวจคัดกรองทางชีวเคมีของโรคฟาเบรในโรงพยาบาลรามาธิบดี โดยใช้กระดาษซับเลือดแห้งและการวัดแสงฟลูออเรสเซนส์
Abstract
Background: Fabry disease (FD) is an X-linked lysosomal storage disorder caused by a deficiency of Alpha-galactosidase A (a-GAL A). This enzyme defect results in the accumulation of glycolipid in various organs such as kidney, heart and brain. Therefore, screening of Fabry disease is recommended in patients with unexplained causes of chronic kidney disease, left ventricular hypertrophy and stroke.
Objective: To develop the use of a-GAL A assay for future Fabry disease screening.
Methods: a-GAL A screening using fluorometry was performed in dried blood spot (DBS). The standardization was done using quality-control DBS pools provided by the CDC, USA. Validation of the assay was performed in 118 unrelated normal control subjects.
Results: The standardization of the assay was not different from the QC-DBS references. Validation of the assay in normal control subjects revealed no difference of a-GAL A activity between mates and females. The values at the 3rd centile was proposed for the use as cut-off points for Fabry disease screening in the Thai population, approximately 2.9 nmol/mL/hr.
Conclusions: a-GAL A assay using DBS-fluorometry was successfully developed in Ramathibodi Hospital. The establishment of biochemical testing for Fabry disease is expected to benefit the clinical service in the near future.
บทนำ: โรคฟาเบรเป็นโรคพันธุกรรมของการทำลายสารตั้งต้นในไลโซโซม ที่ถ่ายทอดผ่านโครโมโซมเอกซ์ อันเนื่องจากการขาดเอนไซม์อัลฟ่ากาแลคโตซิเดสเอ (a-GAL A) การขาดเอนไซม์นี้ทำให้เกิดการคั่งของสารไกลโคลิปิดในหลายอวัยวะ เช่น ไต หัวใจ สมอง ดังนั้นการคัดกรองโรคฟาเบร จึงแนะนำให้กระทำในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง หัวใจห้องล่างซ้ายโต และโรคหลอดเลือดสมอง ชนิดที่ไม่มีสาเหตุอธิบายได้ วัตถุประสงค์: เพื่อพัฒนาการใช้งานของการตรวจ a-GAL A สำหรับการตรวจคัดกรองโรคฟาเบรในอนาคต วิธีการศึกษา: การคัดกรองการทำงานของเอนไซม์ a-GAL A กระทำในตัวอย่างเลือดในรูปแบบของกระดาษซับเลือดแห้ง และการวัดแสงฟลูออเรสเซนส์ การเทียบค่ามาตรฐานกระทำใน ตัวอย่างกระดาษซับเลือดแห้งควบคุมคุณภาพ โดยศูนย์ควบคุมและป้องกันโรค ประเทศสหรัฐอเมริกา การทดสอบความน่าเชื่อถือ กระทำในตัวอย่างเลือดของประชากรไทยปกติ ที่ไม่มีสายเลือดเกี่ยวดองกัน จำนวน 118 ราย ผลการศึกษา: การทดสอบค่ามาตรฐานไม่แตกต่างจากผลอ้างอิงในตัวอย่างควบคุมคุณภาพ การทดสอบความน่าเชื่อถือในตัวอย่างเลือดประชากรปกติ ไม่พบความแตกต่างของค่าการทำงานของเอนไซม์ a-GAL A ในเพศชาย และเพศหญิง ค่าเอนไซม์ต่ำกว่าเซนไทล์ที่ 3 ถูกเสนอให้เป็นค่าตัดขั้นต่ำ สำหรับการคัดกรองโรคฟาเบรในประเทศไทย ซึ่งมีค่าเท่ากับ 2.9 นาโนโมลต่อมิลลิลิตรต่อชั่วโมง สรุป: การตรวจเอนไซม์ a-GAL A โดยใช้กระดาษซับเลือดแห้ง และการวัดแสงฟลูออเรสเซนส์ถูกพัฒนาขึ้นมาอย่างประสบความสำเร็จ ในโรงพยาบาลรามาธิบดี การจัดตั้งการตรวจทางชีวเคมี หวังว่าจะเป็นประโยชน์ต่องานบริการทางคลินิกในอนาคตอันใกล้
บทนำ: โรคฟาเบรเป็นโรคพันธุกรรมของการทำลายสารตั้งต้นในไลโซโซม ที่ถ่ายทอดผ่านโครโมโซมเอกซ์ อันเนื่องจากการขาดเอนไซม์อัลฟ่ากาแลคโตซิเดสเอ (a-GAL A) การขาดเอนไซม์นี้ทำให้เกิดการคั่งของสารไกลโคลิปิดในหลายอวัยวะ เช่น ไต หัวใจ สมอง ดังนั้นการคัดกรองโรคฟาเบร จึงแนะนำให้กระทำในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง หัวใจห้องล่างซ้ายโต และโรคหลอดเลือดสมอง ชนิดที่ไม่มีสาเหตุอธิบายได้ วัตถุประสงค์: เพื่อพัฒนาการใช้งานของการตรวจ a-GAL A สำหรับการตรวจคัดกรองโรคฟาเบรในอนาคต วิธีการศึกษา: การคัดกรองการทำงานของเอนไซม์ a-GAL A กระทำในตัวอย่างเลือดในรูปแบบของกระดาษซับเลือดแห้ง และการวัดแสงฟลูออเรสเซนส์ การเทียบค่ามาตรฐานกระทำใน ตัวอย่างกระดาษซับเลือดแห้งควบคุมคุณภาพ โดยศูนย์ควบคุมและป้องกันโรค ประเทศสหรัฐอเมริกา การทดสอบความน่าเชื่อถือ กระทำในตัวอย่างเลือดของประชากรไทยปกติ ที่ไม่มีสายเลือดเกี่ยวดองกัน จำนวน 118 ราย ผลการศึกษา: การทดสอบค่ามาตรฐานไม่แตกต่างจากผลอ้างอิงในตัวอย่างควบคุมคุณภาพ การทดสอบความน่าเชื่อถือในตัวอย่างเลือดประชากรปกติ ไม่พบความแตกต่างของค่าการทำงานของเอนไซม์ a-GAL A ในเพศชาย และเพศหญิง ค่าเอนไซม์ต่ำกว่าเซนไทล์ที่ 3 ถูกเสนอให้เป็นค่าตัดขั้นต่ำ สำหรับการคัดกรองโรคฟาเบรในประเทศไทย ซึ่งมีค่าเท่ากับ 2.9 นาโนโมลต่อมิลลิลิตรต่อชั่วโมง สรุป: การตรวจเอนไซม์ a-GAL A โดยใช้กระดาษซับเลือดแห้ง และการวัดแสงฟลูออเรสเซนส์ถูกพัฒนาขึ้นมาอย่างประสบความสำเร็จ ในโรงพยาบาลรามาธิบดี การจัดตั้งการตรวจทางชีวเคมี หวังว่าจะเป็นประโยชน์ต่องานบริการทางคลินิกในอนาคตอันใกล้