Publication:
ผลของโปรแกรมกำกับตนเองเพื่อควบคุมภาวะน้ำเกินในผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง ระยะสุดท้ายที่ได้รับการบำบัดทดแทนไตด้วยวิธีการล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง

dc.contributor.authorกชกร คำเรืองen_US
dc.contributor.authorศรัณญา เบญจกุลen_US
dc.contributor.authorธราดล เก่งการพานิชen_US
dc.contributor.authorมณฑา เก่งการพานิชen_US
dc.contributor.authorกรกนก ลัธธนันท์en_US
dc.contributor.authorKotchakorn Kumruangen_US
dc.contributor.authorSarunya Benjakulen_US
dc.contributor.authorTharadol Kengganpanichen_US
dc.contributor.authorMondha Kengganpanichen_US
dc.contributor.authorKornkanok Lattananden_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2021-09-30T04:44:23Z
dc.date.available2021-09-30T04:44:23Z
dc.date.created2564-09-30
dc.date.issued2560
dc.description.abstractการวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่มวัดผลก่อน-หลัง นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมกำกับตนเอง เพื่อควบคุมภาวะน้ำเกินในผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะ สุดท้ายที่ได้รับการบำบัดทดแทนไตด้วยวิธีการล้างไต ทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง ตัวอย่างจำนวน 44 คน แบ่งเป็น 2 กลุ่ม ๆ ละ 22 คน กลุ่มทดลองได้รับ โปรแกรมที่ประยุกต์ใช้แนวคิดการกำกับตนเอง ระยะ เวลา 9 สัปดาห์ กิจกรรมประกอบด้วยการให้ความรู้ การฝึกทักษะการสังเกตตนเอง การตัดสินใจ การแสดง ปฏิกิริยาต่อตนเอง และการสนับสนุนการสังเกตตนเอง อย่างต่อเนื่อง เพื่อควบคุมภาวะน้ำเกิน เก็บข้อมูล ก่อน-หลังการทดลองด้วยแบบสัมภาษณ์ และวัดภาวะ น้ำเกินในสัปดาห์ที่ 1, 5, และ 9 วิเคราะห์ข้อมูล ด้วยสถิติเชิงพรรณนา และสถิติเชิงอนุมาน ผลการวิจัย พบว่า หลังทดลอง กลุ่มทดลองมีความรู้เกี่ยวกับการ บริโภคอาหารที่มีโซเดียมและน้ำ การรับรู้ความสามารถ ของตนเองและความคาดหวังในผลดีของการควบคุม ภาวะน้ำเกิน พฤติกรรมการบริโภคอาหารที่มีโซเดียม ดีขึ้นกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.05) ยกเว้นพฤติกรรมการบริโภคน้ำ (p = 0.756) และดีกว่ากลุ่มเปรียบเทียบ (p < 0.05) ยกเว้นความ คาดหวังในผลดีฯ (p = 0.034) ทั้ง 2 กลุ่ม มีภาวะ น้ำาเกินแตกต่างกันอย่างชัดเจนในสัปดาห์ที่ 9 (p = 0.033) ดังนั้นโปรแกรมนี้จึงสามารถนำาไปบูรณาการกับกิจกรรม การพยาบาลในระบบปกติของโรงพยาบาลต่อไปen_US
dc.description.abstractThis quasi-experimental research aimed to study the effects of a self-regulated program to control volume overload among patients with end stage renal disease receiving continuous ambulatory peritoneal dialysis. A sample of 44 patients was divided in two groups of 22 patients each. The experimental group received the selfregulated program for 9 weeks. The program activities of the program included knowledge, skills training on self-observation, decision making, self-reaction and supported self-observation continuously, to control volume overload. Data were collected pre- and post intervention by interviewing and measuring volume overload at weeks 1, 5 and 9. Data was analyzed using descriptive and inferential statistics. The research results showed that after experimentation, the experimental group gained a signifi cantly higher level of knowledge than the comparison group regarding consuming food containing sodium and water, perceived self-efficacy, outcome expectations of the benefi ts of controlling volume overload and consuming food containing sodium than before the experiment (p<0.05) except for water consumption behavior (p = 0.756) (p<0.05), and outcome expectations of the benefi ts of controlling volume overload (p = 0.034). Additionally, a signifi cant difference was found concerning volume overload between groups at week 9 (p=0.033). Thus, this self-regulated program to control volume overload could serve as an alternative to be integrated in hospital treatment.en_US
dc.identifier.citationวารสารสาธารณสุขศาสตร์. ปีที่ 47, ฉบับที่ 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2560), 326-338en_US
dc.identifier.issn2697-584X (Print)
dc.identifier.issn2697-5866 (Online)
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/63744
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายen_US
dc.subjectภาวะน้ำเกินen_US
dc.subjectแนวคิดการกำกับตนเองen_US
dc.subjectล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่องen_US
dc.subjectself-regulationen_US
dc.subjectcontinuous ambulatory peritoneal dialysisen_US
dc.subjectend stage renal disease patienten_US
dc.subjectvolume overloaden_US
dc.titleผลของโปรแกรมกำกับตนเองเพื่อควบคุมภาวะน้ำเกินในผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง ระยะสุดท้ายที่ได้รับการบำบัดทดแทนไตด้วยวิธีการล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่องen_US
dc.title.alternativeEffects of a Self-Regulated Program to Control Volume Overload Among Patients with End Stage Renal Disease Receiving Continuous Ambulatory Peritoneal Dialysisen_US
dc.typeOriginal Articleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://he02.tci-thaijo.org/index.php/jph/article/view/82037/85224

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ph-ar-sarunya-2560-2.pdf
Size:
622.92 KB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections