Publication: เรื่องตลก 69: เล่าอย่างเฟมินิสต์
Issued Date
2550
Resource Type
Language
tha
Rights
มหาวิทยาลัยมหิดล
Rights Holder(s)
คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
The Journal. ปีที่ 3, ฉบับที่ 2 (2550), 115-125
Suggested Citation
ณรงศักดิ์ สอนใจ เรื่องตลก 69: เล่าอย่างเฟมินิสต์. The Journal. ปีที่ 3, ฉบับที่ 2 (2550), 115-125. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/9933
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
เรื่องตลก 69: เล่าอย่างเฟมินิสต์
Author(s)
Other Contributor(s)
Abstract
บทความเรื่องนี้มุ่งศึกษาวิเคราะห์ภาพยนตร์เรื่อง “เรื่องตลก 69” ผลงานการกำกับ
ภาพยนตร์เรื่องที่สองของเป็นเอก รัตนเรือง โดยพิจารณาในแนวสตรีนิยม ทั้งนี้เพราะ
ภาพยนตร์ “เรื่องตลก 69” แม้จะมุ่งเสนอประเด็นเกี่ยวกับภาวะของมนุษย์ในสภาพจนตรอก
และความโลภที่เข้าไปทำลายตัวตนที่แท้จริงของมนุษย์แล้ว แต่อีกด้านหนึ่งภาพยนตร์เรื่อง
นี้ได้เสนอรายละเอียดหลายประการ ที่แสดงนัยแฝงถึงเพศสภาวะอย่างชัดเจน นับตั้งแต่
ชื่อเรื่อง ใบปิดภาพยนตร์ ตัวละคร ฉาก และรายละเอียดต่างๆ ที่ปรากฏในภาพยนตร์
การใช้แง่มุมตามแบบสตรีนิยมเพื่อวิเคราะห์ภาพยนตร์เรื่องนี้ จะทำให้เห็นถึง “สัญญะ” ที่
สะท้อนความขัดแย้งทางเพศสภาวะ ทั้งประเด็น “ผู้หญิงกับงาน” “ผู้หญิงกับอำนาจ”
“ผู้หญิงกับความรุนแรง” เป็นต้น และการวิเคราะห์ดังกล่าวจะนำไปสู่ “โครงสร้างทาง
ความหมาย” อีกชุดหนึ่งของภาพยนตร์ที่แฝงนัยยะเรื่อง “ความเป็นเพศหญิง” อย่างชัดเจน
This paper analyzes rueang talok hok kao, the second movie directed by Penek Rattanarueang, from the feminism viewpoint. Not only does this movie present issues concerning a human state of being trapped and greed that destroys the essence of human beings, it also imparts details about gender. Those signs include the movie’s title, handbills, characters, settings and many others. From the perspective of feminism, the movie reveals ‘signs’ of gender conflicts such as ‘women and work’, ‘women and power’, women and violence,’ and so on. In addition to the signs, such an analysis also leads to another structure of meaning that vividly implies ‘femaleness’.
This paper analyzes rueang talok hok kao, the second movie directed by Penek Rattanarueang, from the feminism viewpoint. Not only does this movie present issues concerning a human state of being trapped and greed that destroys the essence of human beings, it also imparts details about gender. Those signs include the movie’s title, handbills, characters, settings and many others. From the perspective of feminism, the movie reveals ‘signs’ of gender conflicts such as ‘women and work’, ‘women and power’, women and violence,’ and so on. In addition to the signs, such an analysis also leads to another structure of meaning that vividly implies ‘femaleness’.