Publication: Measuring Professional Culture in a Thai Medical School Using the Dundee Barometer of Institutional Professionalism (DBIP)
Issued Date
2018
Resource Type
Language
eng
ISSN
0125-3611 (Print)
2651-0561 (Online)
2651-0561 (Online)
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Chakri Naruebodindra Medical Institute Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Center for Medical Education School of Medicine University of Dundee
Department of Family Medicine Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Center for Medical Education School of Medicine University of Dundee
Department of Family Medicine Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Bibliographic Citation
Ramathibodi Medical Journal. Vol. 41, No. 4 (Oct-Dec 2018), 81-89
Suggested Citation
Panitee Poonpetcharat, Madawa Chandratilake, Thanaporn Daengjai, ปณิธี พูนเพชรรัตน์, มาดาวา จันดราทิเลค, ธนภรณ์ แดงใจ Measuring Professional Culture in a Thai Medical School Using the Dundee Barometer of Institutional Professionalism (DBIP). Ramathibodi Medical Journal. Vol. 41, No. 4 (Oct-Dec 2018), 81-89. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79567
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Measuring Professional Culture in a Thai Medical School Using the Dundee Barometer of Institutional Professionalism (DBIP)
Alternative Title(s)
การวัดทัศนคติต่อวิชาชีพแพทย์ของนักศึกษาแพทย์ไทย โดยใช้ Dundee Barometer of Institutional Professionalism (DBIP)
Abstract
Background: Social change together with advances in technology and medical knowledge are impacting on the way doctors and health care providers work. As a consequence, there is greater interest in medical professionalism.
Objective: To conduct field test of a Thai-version of the Dundee Barometer of Institutional Professionalism (DBIP) for measuring Thai medical students’ attitude towards medical professionalism.
Methods: The originator of DBIP was asked permission to translate. The DBIP was translated into the Thai language through a cross-cultural adaptation process for content validity. The process were forward and back translation and being relevant within Thai context. A paper-based self-administered version of the Thai DBIP questionnaire was distributed to 420 clinical-year medical students (4th to 6th year) at the Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital, Mahidol University, Bangkok, Thailand. Statistical analysis was undertaken using SPSS version 18.0 in descriptive statistics and internal consistency.
Results: The response rate was 77.6% with Cronbach’s alpha 0.96. The results indicated a positive attitude towards medical professionalism. Professional attitudes appeared to be valued more by female students than by their male counterparts and more by older students than by younger ones.
Conclusions: The result of Cronbach’s alpha indicated that the reliability of the Thai-version of the DBIP was excellent. Students had high levels of concern for professionalism. Nevertheless, medical schools should emphasise the need for continuous professional development.
บทนำ: การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี รวมทั้งวิวัฒนาการความรู้ทางการแพทย์ มีผลกระทบต่อการทำงานของบุคลากรทางการแพทย์ ส่งผลให้สังคมเกิดความตระหนักในความเป็นมืออาชีพแห่งวิชาชีพแพทย์ (Medical professionalism) เพิ่มมากขึ้น วัตถุประสงค์: เพื่อประเมินทัศนคติด้านความเป็นมืออาชีพแห่งวิชาชีพแพทย์ ของนักศึกษาแพทย์ไทยโดยใช้แบบสอบถาม Dundee Barometer of Institutional Professionalism (DBIP) ฉบับภาษาไทย วิธีการศึกษา: แบบสอบถาม DBIP ซึ่งได้ถูกแปลจากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย และทดสอบความเที่ยงตรงในเนื้อหา (Content validity) จากนั้นให้นักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 4 - 6 คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล จำนวน 420 คน ทำแบบสอบถามดังกล่าวด้วยตนเอง และทำการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติโดยใช้โปรแกรม SPSS version 18.0 ผลการศึกษา: จากกลุ่มตัวอย่าง มีผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวนทั้งสิ้น 326 คน (ร้อยละ 77.6) โดยมีค่าความเชื่อมั่น Cronbach’s alpha เท่ากับ 0.96 ผลการศึกษาพบว่า นักศึกษาแพทย์มีทัศนคติที่ดีต่อความเป็นมืออาชีพแห่งวิชาชีพแพทย์ โดยนักศึกษาแพทย์หญิงมีค่าคะแนนทัศนคติที่ดีสูงกว่านักศึกษาแพทย์ชาย และนักศึกษาแพทย์ที่มีอายุมากกว่ามีแนวโน้มของคะแนนทัศนคติที่ดีมากกว่านักศึกษาแพทย์ที่มีอายุน้อย สรุป: การศึกษานี้แสดงให้เห็นว่าแบบสอบถาม DBIP ฉบับภาษาไทย มีค่าความเชื่อมั่น Cronbach’s alpha ในระดับดีมาก อีกทั้งนักศึกษาแพทย์มีทัศนคติต่อความเป็นมืออาชีพแห่งวิชาชีพแพทย์ในระดับสูง อย่างไรก็ตาม โรงเรียนแพทย์ควรกำหนดให้ความเป็นมืออาชีพแห่งวิชาชีพแพทย์เป็นความสามารถหลักที่ต้องประเมินในหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต
บทนำ: การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี รวมทั้งวิวัฒนาการความรู้ทางการแพทย์ มีผลกระทบต่อการทำงานของบุคลากรทางการแพทย์ ส่งผลให้สังคมเกิดความตระหนักในความเป็นมืออาชีพแห่งวิชาชีพแพทย์ (Medical professionalism) เพิ่มมากขึ้น วัตถุประสงค์: เพื่อประเมินทัศนคติด้านความเป็นมืออาชีพแห่งวิชาชีพแพทย์ ของนักศึกษาแพทย์ไทยโดยใช้แบบสอบถาม Dundee Barometer of Institutional Professionalism (DBIP) ฉบับภาษาไทย วิธีการศึกษา: แบบสอบถาม DBIP ซึ่งได้ถูกแปลจากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย และทดสอบความเที่ยงตรงในเนื้อหา (Content validity) จากนั้นให้นักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 4 - 6 คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล จำนวน 420 คน ทำแบบสอบถามดังกล่าวด้วยตนเอง และทำการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติโดยใช้โปรแกรม SPSS version 18.0 ผลการศึกษา: จากกลุ่มตัวอย่าง มีผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวนทั้งสิ้น 326 คน (ร้อยละ 77.6) โดยมีค่าความเชื่อมั่น Cronbach’s alpha เท่ากับ 0.96 ผลการศึกษาพบว่า นักศึกษาแพทย์มีทัศนคติที่ดีต่อความเป็นมืออาชีพแห่งวิชาชีพแพทย์ โดยนักศึกษาแพทย์หญิงมีค่าคะแนนทัศนคติที่ดีสูงกว่านักศึกษาแพทย์ชาย และนักศึกษาแพทย์ที่มีอายุมากกว่ามีแนวโน้มของคะแนนทัศนคติที่ดีมากกว่านักศึกษาแพทย์ที่มีอายุน้อย สรุป: การศึกษานี้แสดงให้เห็นว่าแบบสอบถาม DBIP ฉบับภาษาไทย มีค่าความเชื่อมั่น Cronbach’s alpha ในระดับดีมาก อีกทั้งนักศึกษาแพทย์มีทัศนคติต่อความเป็นมืออาชีพแห่งวิชาชีพแพทย์ในระดับสูง อย่างไรก็ตาม โรงเรียนแพทย์ควรกำหนดให้ความเป็นมืออาชีพแห่งวิชาชีพแพทย์เป็นความสามารถหลักที่ต้องประเมินในหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต