Publication: Factors Related to Foot Care Behaviors Among Patients With Type 2 Diabetes Mellitus in Da Nang, Vietnam
Issued Date
2019
Resource Type
Language
eng
ISSN
0125-3611 (Print)
2651-0561 (Online)
2651-0561 (Online)
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Ramathibodi School of Nursing Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Faculty of Nursing Da Nang University of Medical Technology and Pharmacy
Faculty of Nursing Da Nang University of Medical Technology and Pharmacy
Bibliographic Citation
Ramathibodi Medical Journal. Vol. 42, No. 3 (July-September 2019), 57-68
Suggested Citation
Hoang Thi Ngoc Sen, Poolsuk Janepanish Visudtibhan, Apinya Siripitayakunkit, ฮวาง ธี ง็อค เซ็น, พูลสุข เจนพานิชย์ วิสุทธิพันธุ์, อภิญญา ศิริพิทยาคุณกิจ Factors Related to Foot Care Behaviors Among Patients With Type 2 Diabetes Mellitus in Da Nang, Vietnam. Ramathibodi Medical Journal. Vol. 42, No. 3 (July-September 2019), 57-68. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/72265
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Factors Related to Foot Care Behaviors Among Patients With Type 2 Diabetes Mellitus in Da Nang, Vietnam
Alternative Title(s)
ปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 เมืองดานัง ประเทศเวียดนาม
Faculty of Nursing Da Nang University of Medical Technology and Pharmacy
Faculty of Nursing Da Nang University of Medical Technology and Pharmacy
Abstract
Background: Foot ulceration and amputation have alarmingly increased among patients with type 2 diabetes mellitus in Vietnam. Poor foot care behavior is one of the crucial reasons which leads to diabetes related foot problems. Exploration factors related to foot care behaviors among people with diabetes becomes a necessary issue to limit this complication.
Objective: To determine factors related to foot care behaviors among patients with type 2 diabetes mellitus.
Methods: The descriptive correlation study was conducted in 140 participants by purposive sampling technique in the outpatient room of Da Nang Hospital, Da Nang, Vietnam from December 2017 to January 2018. Instrument used in the study included of the six cognitive impairment test, demographic form, the Nottingham assessment of functional foot care, foot care knowledge, foot care confidence scale, and foot care subscale in the social support scale for self-care in middle-aged patients with type 2 diabetes mellitus. Data were analyzed by chi-square test, Pearson product moment correlation coefficient, and Spearman rank correlation coefficient.
Results: Of 140 participants, 58.6% had poor foot care behaviors. Education level, foot care knowledge, foot care self-efficacy, and social support showed a statistically significant positive correlation with foot care behaviors. There was no significant correlation between age, gender, and foot care behaviors.
Conclusions: The study suggested that improving foot care knowledge, foot care behaviors and enhancing the role of nurses must be implemented for the improvement of foot care behaviors among patients with type 2 diabetes mellitus.
บทนำ: ในประเทศเวียดนาม ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 มีปัญหาเกิดแผลที่เท้าและการถูกตัดเท้าหรือขาเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งหนึ่งในสาเหตุสำคัญของปัญหาเท้าเบาหวานคือ การมีพฤติกรรมการดูแลเท้าที่ไม่ถูกต้อง ดังนั้น เพื่อลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนปัญหาเท้าเบาหวานจึงควรมีการศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการการดูแลเท้า วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลเท้าของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 วิธีการศึกษา: การวิจัยเชิงพรรณนา กลุ่มตัวอย่างเลือกแบบเฉพาะเจาะจง จำนวน 140 คน ณ แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลดานัง เมืองดานัง ประเทศเวียดนาม เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบระหว่างเดือนธันวาคม พ.ศ. 2560 ถึงเดือนมกราคม พ.ศ. 2561 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบวัดการรู้คิดบกพร่อง ข้อมูลส่วนบุคคล แบบวัดความสามารถในการประเมินการดูแลเท้าของน๊อตติงแฮม แบบวัดความมั่นใจในการดูแลเท้า การรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการดูแลเท้า ความรู้ในการดูแลเท้า และแบบวัดการสนับสนุนทางสังคมของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 วัยกลางคน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติ Chi-square test, Pearson product moment correlation coefficient และ Spearman rank correlation coefficient ผลการศึกษา: จากกลุ่มตัวอย่าง 140 คน พบว่า ร้อยละ 58.6 มีพฤติกรรมการดูแลเท้าไม่ดี และระดับการศึกษา ความรู้เกี่ยวกับการดูแลเท้า การรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการดูแลเท้า แรงสนับสนุนในการดูแลเท้า มีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมการดูแลเท้าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างอายุ เพศ กับพฤติกรรมการดูแลเท้า สรุป: การศึกษานี้แสดงให้เห็นว่า ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ต้องได้รับความรู้ในการดูแลเท้าและพฤติกรรมการดูแลเท้า และพยาบาลมีหน้าที่ช่วยเหลือผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ให้สามารถปฏิบัติพฤติกรรมการดูแลเท้าที่เหมาะสม
บทนำ: ในประเทศเวียดนาม ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 มีปัญหาเกิดแผลที่เท้าและการถูกตัดเท้าหรือขาเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งหนึ่งในสาเหตุสำคัญของปัญหาเท้าเบาหวานคือ การมีพฤติกรรมการดูแลเท้าที่ไม่ถูกต้อง ดังนั้น เพื่อลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนปัญหาเท้าเบาหวานจึงควรมีการศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการการดูแลเท้า วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลเท้าของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 วิธีการศึกษา: การวิจัยเชิงพรรณนา กลุ่มตัวอย่างเลือกแบบเฉพาะเจาะจง จำนวน 140 คน ณ แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลดานัง เมืองดานัง ประเทศเวียดนาม เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบระหว่างเดือนธันวาคม พ.ศ. 2560 ถึงเดือนมกราคม พ.ศ. 2561 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบวัดการรู้คิดบกพร่อง ข้อมูลส่วนบุคคล แบบวัดความสามารถในการประเมินการดูแลเท้าของน๊อตติงแฮม แบบวัดความมั่นใจในการดูแลเท้า การรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการดูแลเท้า ความรู้ในการดูแลเท้า และแบบวัดการสนับสนุนทางสังคมของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 วัยกลางคน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติ Chi-square test, Pearson product moment correlation coefficient และ Spearman rank correlation coefficient ผลการศึกษา: จากกลุ่มตัวอย่าง 140 คน พบว่า ร้อยละ 58.6 มีพฤติกรรมการดูแลเท้าไม่ดี และระดับการศึกษา ความรู้เกี่ยวกับการดูแลเท้า การรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการดูแลเท้า แรงสนับสนุนในการดูแลเท้า มีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมการดูแลเท้าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างอายุ เพศ กับพฤติกรรมการดูแลเท้า สรุป: การศึกษานี้แสดงให้เห็นว่า ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ต้องได้รับความรู้ในการดูแลเท้าและพฤติกรรมการดูแลเท้า และพยาบาลมีหน้าที่ช่วยเหลือผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ให้สามารถปฏิบัติพฤติกรรมการดูแลเท้าที่เหมาะสม