Publication: Comparison of Knowledge, Attitude and Sexual Behavior Between High School Students Who Did and Did Not Participated in Friend Corner Project
Issued Date
2015
Resource Type
Language
eng
ISSN
0125-3611 (Print)
2651-0561 (Online)
2651-0561 (Online)
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Department of Obstetrics and Gynecology Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Health Promoting Hospital The 5th Regional Health Promoting Center Nakhon Ratchasima
Health Promoting Hospital The 5th Regional Health Promoting Center Nakhon Ratchasima
Bibliographic Citation
Ramathibodi Medical Journal. Vol. 38, No. 2 (Apr-Jun 2015), 88-99
Suggested Citation
Somsak Suthutvoravut, Nittiya Duangjai, สมศักดิ์ สุทัศน์วรวุฒิ, นิตย์ติญา ดวงใจ Comparison of Knowledge, Attitude and Sexual Behavior Between High School Students Who Did and Did Not Participated in Friend Corner Project. Ramathibodi Medical Journal. Vol. 38, No. 2 (Apr-Jun 2015), 88-99. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79626
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Comparison of Knowledge, Attitude and Sexual Behavior Between High School Students Who Did and Did Not Participated in Friend Corner Project
Alternative Title(s)
เปรียบเทียบความรู้ เจตคติ และพฤติกรรมทางเพศ ระหว่างนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายในโรงเรียนที่ร่วม และไม่ร่วมกิจกรรมศูนย์เพื่อนใจวัยรุ่น
Abstract
Background: Adolescence is a period that has problem in both biological, psychological and social adaptation. Abnormal adolescent behavior is still a major problem in Thai society. Department of Mental Health organized Friend Corner Project (FCP) since 2004 and has helped alleviate the adolescent problems, especially in sexual behavior.
Objective: To compare knowledge, attitudes and sexual behavior between high school students who did and did not participate in FCP (Friend Corner Project).
Methods: This study recruited three hundred and eighty students from high schools in Nakhonratchasima province school by multiple stage stratified random sampling. One hundred seventy-three students participated in FCP activies and two-hundred sero-seven did not. Data was collected using self-administrated questionnaires during June 1st and June 30th, 2011. Statistical analysis included descriptive, Chi-square, t-test and Pearsonûs Correlation Coefficient. Hypothesis testing was set at α level = 0.05.
Result: Adolescents who participated in FCP had significantly better knowledge about sex than those who did not (P < 0.001). Most of both groups knew little about signs and symptoms of sexual transmitted infections. Regarding attitudes toward sex, both groups had moderate levels of attitude which was not statically significant different. Both groups agreed that having sexual intercourse with their boyfriends or girlfriends had less risk of contracting AIDS than with sex workers. Regarding sexual behavior, both group were of low risk which was not statically significant different. Significant factors associated with participation in FCP were occupation, education, parental marital status, residence of parents, getting sexual information from television, and spending leisure time in playing sport.
Conclusions: Participating in FCP activities was associated with better knowledge about sex among high school students in Nakhonratchasima province. Attitude and sexual behavior had no significant association with participating in FCP. Although, the explanation of the association was not clearly demonstrated, this kind of activities could help adolescents know better about sex and live more appropriately in the society.
วัตถุประสงค์: การศึกษาในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความรู้ เจตคติ และพฤติกรรมทางเพศ ระหว่างนักเรียนที่เข้าร่วมและไม่ร่วมกิจกรรมศูนย์เพื่อนใจวัยรุ่น กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 6 อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา จำนวน 380 คน แบ่งเป็นนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 173 คน ไม่เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 207 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ระหว่างวันที่ 1 มิถุนายน 2554 ถึง 30 มิถุนายน 2554 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณา ไคว์สแควร์ ทีเทส สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ที่ค่าความเชื่อมั่นที่ P = 0.05 ผลการศึกษา: พบว่านักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมศูนย์เพื่อนใจวัยรุ่นมีความรู้เกี่ยวกับเพศศึกษาดีกว่านักเรียนที่ไม่เข้าร่วมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P < 0.001) พบว่าทั้งสองกลุ่มมีความรู้เกี่ยวกับอาการของโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์น้อยมาก ด้านทัศนคติเรื่องเพศนักเรียนทั้งสองกลุ่มมีทัศคติในระดับปานกลาง ทั้งสองกลุ่มมีทัศคติว่า การมีเพศสัมพันธ์กับเพื่อนสาวมีโอกาสติดเชื้อเอดส์ได้น้อยกว่าการมีเพศสัมพันธ์กับผู้หญิงขายบริการทางเพศ สำหรับพฤติกรรมทางเพศพบว่านักเรียนทั้งสองกลุ่มมีพฤติกรรมเสี่ยงต่ำ ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติต่อการเข้าร่วมกิจกรรมศูนย์เพื่อนใจวัยรุ่น ได้แก่ อาชีพ การศึกษา สถานภาพสมรส การอยู่ด้วยกันของพ่อแม่ รายได้ของครอบครัว การรับข้อมูลข่าวสารทางโทรทัศน์และการใช้เวลาว่างในการเล่นกีฬา สรุป: กิจกรรมศูนย์เพื่อนใจวัยรุ่น มีความสัมพันธ์กับความรู้ทางเพศของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดนครราชสีมา แต่ทัศนคติและพฤติกรรมทางเพศไม่แตกต่างกัน ถึงแม้ว่าจะไม่สามารถอธิบายเหตุและผลให้ชัดเจน แต่การมีกิจกรรมเช่นนี้น่าจะเป็นประโยชน์และช่วยวัยรุ่นในการดำเนินชีวิตในสังคมได้ถูกต้องและเหมาะสมยิ่งขึ้น
วัตถุประสงค์: การศึกษาในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความรู้ เจตคติ และพฤติกรรมทางเพศ ระหว่างนักเรียนที่เข้าร่วมและไม่ร่วมกิจกรรมศูนย์เพื่อนใจวัยรุ่น กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 6 อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา จำนวน 380 คน แบ่งเป็นนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 173 คน ไม่เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 207 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ระหว่างวันที่ 1 มิถุนายน 2554 ถึง 30 มิถุนายน 2554 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณา ไคว์สแควร์ ทีเทส สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ที่ค่าความเชื่อมั่นที่ P = 0.05 ผลการศึกษา: พบว่านักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมศูนย์เพื่อนใจวัยรุ่นมีความรู้เกี่ยวกับเพศศึกษาดีกว่านักเรียนที่ไม่เข้าร่วมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P < 0.001) พบว่าทั้งสองกลุ่มมีความรู้เกี่ยวกับอาการของโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์น้อยมาก ด้านทัศนคติเรื่องเพศนักเรียนทั้งสองกลุ่มมีทัศคติในระดับปานกลาง ทั้งสองกลุ่มมีทัศคติว่า การมีเพศสัมพันธ์กับเพื่อนสาวมีโอกาสติดเชื้อเอดส์ได้น้อยกว่าการมีเพศสัมพันธ์กับผู้หญิงขายบริการทางเพศ สำหรับพฤติกรรมทางเพศพบว่านักเรียนทั้งสองกลุ่มมีพฤติกรรมเสี่ยงต่ำ ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติต่อการเข้าร่วมกิจกรรมศูนย์เพื่อนใจวัยรุ่น ได้แก่ อาชีพ การศึกษา สถานภาพสมรส การอยู่ด้วยกันของพ่อแม่ รายได้ของครอบครัว การรับข้อมูลข่าวสารทางโทรทัศน์และการใช้เวลาว่างในการเล่นกีฬา สรุป: กิจกรรมศูนย์เพื่อนใจวัยรุ่น มีความสัมพันธ์กับความรู้ทางเพศของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดนครราชสีมา แต่ทัศนคติและพฤติกรรมทางเพศไม่แตกต่างกัน ถึงแม้ว่าจะไม่สามารถอธิบายเหตุและผลให้ชัดเจน แต่การมีกิจกรรมเช่นนี้น่าจะเป็นประโยชน์และช่วยวัยรุ่นในการดำเนินชีวิตในสังคมได้ถูกต้องและเหมาะสมยิ่งขึ้น