Publication:
ผลของการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการเกิดผื่นแดงบริเวณฝีเย็บและก้นกบในผู้ป่วยระบบประสาทที่มีภาวะกลั้นปัสสาวะ

dc.contributor.authorอุษณีย์ แก้วเก็บen_US
dc.contributor.authorUsanee Kaewkaben_US
dc.contributor.authorวัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์en_US
dc.contributor.authorWallada Chanruangvanichen_US
dc.contributor.authorอรพรรณ โตสิงห์en_US
dc.contributor.authorOrapan Thosinghaen_US
dc.contributor.authorสุพร สุนัยดุษฎีกุลen_US
dc.contributor.authorSuporn Danaidutsadeekulen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลศัลยศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2018-02-09T07:41:01Z
dc.date.available2018-02-09T07:41:01Z
dc.date.created2018-02-09
dc.date.issued2554
dc.description.abstractวัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการเกิดผื่นแดงบริเวณฝีเย็บและก้นกบในผู้ป่วยระบบประสาทที่มีภาวะกลั้นปัสสาวะไม่ได้ รูปแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงทดลอง วิธีดําเนินการวิจัย: ศึกษาในผู้ป่วยระบบประสาทเพศหญิงที่มีภาวะกลั้นปัสสาวะไม่ได้และเข้ารับการรักษา ณ หอผู้ป่วยประสาทศัลยศาสตร์โรงพยาบาลศิริราช จํานวน 64 ราย กลุ่มทดลองคือกลุ่มที่ได้รับการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาล กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติเก็บข้อมูลโดยใช้แบบบันทึกข้อมูลทั่วไปของผู้ป่วยและแบบบันทึกสภาพผิวหนังผู้ป่วยโดยใช้แบบประเมิน Visual Grading Scale เพื่อประเมินระดับความรุนแรงของผื่นแดง ระยะเวลาปลอดผื่นแดง วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการทดสอบสถิติที (t-test) และ binary univariate logistic regression ผลการวิจัย: กลุ่มทดลองมีอัตราการเกิดผื่นแดงและระดับความรุนแรงของผื่นแดงน้อยกว่ากลุ่มควบคุมและมีระยะเวลาปลอดผื่นแดงนานกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p < . 01) กลุ่มทดลองมีโอกาสเกิดผื่นแดงเท่ากับ 0.05 เท่าของกลุ่มควบคุม (OR = 0.05, 95% CI = 0.01-0.18) โดยกลุ่มทดลองมีอัตราการเกิดผื่นแดงร้อยละ 12.5 ระดับความรุนแรงของการเกิดผื่นแดงเฉลี่ย 0.31 (SD = .99) ระยะเวลาปลอดผื่นแดงเฉลี่ย 5.91 วัน (SD = .53) กลุ่มควบคุมมีอัตราการเกิดผื่นแดงร้อยละ 75 ระดับความรุนแรงของการเกิดผื่นแดงเฉลี่ย 2.03 (SD = 1.42) และระยะเวลาปลอดผื่นแดงเฉลี่ย 4.41 วัน (SD = 1.46) สรุปและข้อเสนอแนะ: พยาบาลและบุคลากรที่เกี่ยวข้องสามารถนําแนวปฏิบัติการพยาบาลนี้ไปใช้ในการดูแลผู้ป่วยที่มีปัญหาทางระบบประสาทที่ไม่สามารถกลั้นปัสสาวะได้ในหอผู้ป่วย เพื่อเพิ่มคุณภาพการปฏิบัติการพยาบาลen_US
dc.description.abstractPurpose: The purposes of this experimental research were to test effects of clinical nursing practice guidelines (CNPG) for prevention of perineal dermatitis in neurological patients with urinary incontinence.Design: Experimental research.Methods: The samples included 64 neurological female patients with urinary incontinence who admitted at neurosurgery ward, Siriraj Hospital. The experimental group received the CNPG and the control group received routine nursing care. The data were collected by using the general data collection instrument for patients and the Visual Grading Scale to assess the severity of dermatitis and dermatitis–free periods. The data were analyzed using t-test and binary univariate logistic.Main findings: The results revealed that the experimental group had a lower incidence rate and severity of perineal dermatitis than the control group and a longer dermatitis–free periods than the control group with statistical significance (p < .01). The probability of perineal dermatitis in the experimental group was equal to 0.05 times compared with the control group (OR = 0.05, 95% CI = 0.01-0.18). In addition, the experimental group had an incidence rate of perineal dermatitis of 12.5%; the mean score of severity of perineal dermatitis was 0.31 (SD = .99); and the dermatitis–free period was 5.91 days (SD = .53). The control group had an incidence rate of perineal dermatitis of 75 %; the mean score of severity of perineal dermatitis was 2.03 (SD = 1.42); and the dermatitis–free period was 4.41 days (SD = 1.46).Conclusion and recommendations: The study suggests the benefits of using the CNPG. Nursing staffs and stakeholders should consider using the CNPG in providing care to neurological patients with urinary incontinence to improve quality of nursing care.en_US
dc.identifier.citationวารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 29, ฉบับที่ 4 (ต.ค. - ธ.ค. 2554), 37-45en_US
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/8731
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectแนวปฏิบัติการพยาบาลen_US
dc.subjectผู้ป่วยระบบประสาทen_US
dc.subjectการเกิดผื่นแดงบริเวณฝีเย็บและก้นกบen_US
dc.subjectภาวะกลั้นปัสสาวะไม่ได้en_US
dc.subjectวารสารพยาบาลศาสตร์en_US
dc.subjectJournal of Nursing Scienceen_US
dc.subjectOpen Access articleen_US
dc.titleผลของการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการเกิดผื่นแดงบริเวณฝีเย็บและก้นกบในผู้ป่วยระบบประสาทที่มีภาวะกลั้นปัสสาวะen_US
dc.title.alternativeThe Effects of Utilizing Clinical Nursing Practice Guidelines for Prevention of Perineal Dermatitis in Neurological Patients with Urinary Incontinenceen_US
dc.typeArticleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://www.tci-thaijo.org/index.php/ns/article/view/2842

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ns-ar-wallada-2554.pdf
Size:
1.85 MB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections