Publication: ความสุข: การวัดเชิงอัตวิสัย
dc.contributor.author | รศรินทร์ เกรย์ | en_US |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยประชากรและสังคม | en_US |
dc.date.accessioned | 2014-08-26T04:12:45Z | |
dc.date.accessioned | 2017-10-25T08:52:21Z | |
dc.date.available | 2014-08-26T04:12:45Z | |
dc.date.available | 2017-10-25T08:52:21Z | |
dc.date.created | 2557-08-26 | |
dc.date.issued | 2555-09 | |
dc.description.abstract | ปี 2555 องค์การสหประชาชาติได้มีมติก่อตั้งวันความสุขสากล กำหนดให้ตรงกับ วันที่ 20 มีนาคม ของทุกปี โดยเรียกร้องให้แต่ละประเทศผลักดันนโยบายสาธารณะเพื่อเพิ่มความสุขให้กับประชาชนทุกๆ คน ดังนั้นข้อมูลเกี่ยวกับระดับและแนวโน้มความสุขจึงมีความสำคัญในการกำหนดนโยบาย ความสุขเชิงอัตวิสัย ได้มีการศึกษามาอย่างยาวนานในโลกตะวันตก โดยการสำรวจเชิงปริมาณที่ใช้เครื่องมือหรือข้อคำถาม และคำตอบที่เป็นสากล หรือทีเรียกว่า Global question ทำให้ทราบแนวโน้มความสุขของประชาชนในประเทศเหล่านั้น แต่ประเทศไทยเริ่มมีการเก็บข้อมูลเกี่ยวกับความสุขเชิงอัตวิสัยโดยการสำรวจเชิงปริมาณ อย่างเป็นระบบเร็วๆ นี้ ในการศึกษาแนวโน้มระดับความสุขว่าเพิ่มขึ้นหรือลดลงนั้น หากมีการใช้ข้อ คำถามและคำตอบที่ให้เลือกแตกต่างกันบ้างในแต่ละครั้งของการสำรวจ อาจนำไปสู่ข้อสรุปที่คลาดเคลื่อนได้ บทความนี้ทบทวนเครื่องมือที่ใช้วัดความสุขเชิงอัตวิสัยในต่างประเทศ เปรียบเทียบกับประเทศไทย พบว่ามีความคล้ายคลึงกันมาก แต่มีข้อควรระวังเกี่ยวกับเครื่องมือที่ใช้ในประเทศไทย เพื่อลดความคลาดเคลื่อนเมื่อต้องการศึกษาแนวโน้มความสุขคนไทย | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารประชากร. ปีที่ 4, ฉบับที่ 1(2555), 111-127 | en_US |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/2942 | |
dc.language.iso | tha | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.subject | ความสุข | en_US |
dc.subject | การวัดเชิงอัตวิสัย | en_US |
dc.title | ความสุข: การวัดเชิงอัตวิสัย | en_US |
dc.title.alternative | Happiness: subjective measurement | en_US |
dc.type | Article | en_US |
dspace.entity.type | Publication |