Publication: Determinants Related to the Utilization of Voluntary Counselling and HIV Testing Service in Vietnam
Issued Date
2007
Resource Type
Language
eng
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
ASEAN Institute for Health Development. Mahidol University
Bibliographic Citation
Journal of Public Health and Development. Vol.5, No.1 (2007), 63-75
Suggested Citation
Nguyen Hai Thuong, Shafi Ullah Bhuiyan, Sutham Nanthamongkolchai Determinants Related to the Utilization of Voluntary Counselling and HIV Testing Service in Vietnam. Journal of Public Health and Development. Vol.5, No.1 (2007), 63-75. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/1592
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Determinants Related to the Utilization of Voluntary Counselling and HIV Testing Service in Vietnam
Alternative Title(s)
ปัจจัยเกี่ยวกับการใบริการที่ปรึกษาอาสาสมัคร และศูนย์บริการตรวจเลือด HIV ในประเทศเวียดนาม
Other Contributor(s)
Abstract
This cross sectional research used data of the Leadership Investment in the Fighting against
Epidemic - Global AIDS Program (LIFE - GAP) project in 2004. The objective of the study was to
describe the socio-demographic and physical factors, risk behaviors of clients and their sex-partners,
infbrmation sources which affect utilization of the Voluntary Counselling and HIV Testing (VCT) service.
1200 clients who had obtained service from selected VCT sites in2004 were chosen by random stratified
sampling from 20816 clients of 40 provinces in Vietnam. Chi-Square test was used for analysis at 0.05
confldent interval.
Most (88. 1 7%) clients had completed the VCT process. '7 5.5Yo of clients were younger than 3 5. The
greater parl (53 .42%) of clients was manied or lived with sex-partn ers. 12.92o/o of clients had college or
higher education. Almost (79.33o/o) of clients were living in urban areas. Some clients had STD symptom
(1692%) and TB symptom (7 .58%).59.7 5% of clients had admitted some high risk behaviors such as being
CSW, IDU. Many (59.25o/o) clients had sex-partners who had high risk behaviors. 5633% of VCT clients
had received information about the service from mass-media. The study revealed that there were associations
of following variables with utilization of VCT service: marital status; residence; health problems
related to HIV infection such as TB, STD; risk behaviors of client's sex-partners; and intbrmation sources
of VCT service (P-value < 0.05).
Based on the above findings, health supporters should have a more important role in term of transfer
clients to VCT site by building a larger nefwork of hospitals, HIV/AIDS prevention and care programs,
social unions, NGOs and local community. VCT programs should be conducted not only in urban areas but also in rural areas.
การวิจัยแบบคัดกลุ่มประชากรตัวอย่างของกลุ่มเป้าหมายนี้ ได้ใช้ข้อมูลมาจากโครงการ Fighting against Epidemic – Global AIDS Program (LIFE – GAP) ในปี 2004 วัตถุประสงค์ของงานวิจัยแบบคัดกลุ่มประชากรตัวอย่างของกลุ่มเป้าหมายนี้ เพื่ออธิบายปัจจัยด้านสังคม และ ข้อจำกัดด้านกายภาพ ปัจจัยเสี่ยงเชิงพฤติกรรมที่มีต่อการติดเชื้อ ทั้งของกลุ่มเป้าหมายและ คู่ร่วมเพศของตน แหล่งข้อมูลที่มีผลต่อใช้บริการที่ปรึกษาอาสาสมัคร และศูนย์บริการตรวจเชื้อ HIV (VCT) โดยได้คัดสรรผู้ใช้บริการ (VCT) จำนวน 1,200 ในปี 2004 แยกตามกลุ่ม random stratified sampling จากกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 20,816 คนใน 4 จังหวัดในประเทศเวียดนาม โดยใช้ Chi-Square test เพื่อวิเคราะในระดับความน่าเชื่อถืออัตราที่ละ 0.05 จากการศึกษาพบว่า มีผู้ใช้บริการ VCT จนสำเร็จ จำนวน 88.17% ผู้ใช้บริการ 75.% มีอายุตำกว่า 35 ปี 53.42% มีสภาพสมรสหรืออาสัยอยู่กับคู่ร่วมเพศ ผู้ใช้บริการ 12.92% มีการศึกษา ในระดับบริญญาตรีขึ้นไป ผู้ใช้บริการส่วนใหญ่ (79.33%) อยู่ในเมือง มีอาการของ STD (16.92%) และ TB (7.58%) ส่วนผู้ใช้บริการที่ยอมรับว่ามีพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศสูง (เช่น CSW; IDU)มีมากถึง 59.75% ผู้ใช้บริการ VCT 56.33% ได้รบั การแนะนำให้ไปใช้บริการโดยผ่านสื่อมวลชน การวิจัย คราวนี้แสดงให้เห็นว่า ปจั จัยที่มคี วามสำคัญต่อ การใช้บริการ VCT ของผู้ใช้บริการได้แก่สภาพสมรส ที่อยู่อาศัย การมีอาการที่แสดงออกให้เห็นได้ ระดับความเสี่ยงของพฤติกรรมทางเพศ ของผู้ใช้บริการ VCT และหรือคู่รว่ มเพศ และแหล่งข้อมูลเกี่ยวกับการบริการ VCT (P-value < 0.05). ดังนั้น ผู้ที่ดูแลสุขภาพควรยกบทบาทมากขึ้นเพื่อแนะนำการใช้บริการ VCT โดยผ่านเครือข่าย ของโรงพยาบาล โครงการป้องการและดูแล HIV/AIDS สภาสังคมต่างๆ NGO และชุมชน การให้บริการ VCT ต้องไม่จำกัดอยู่ในเมืองเท่านั้นแต่ควรแพร่ไปถึงชนบทด้วย
การวิจัยแบบคัดกลุ่มประชากรตัวอย่างของกลุ่มเป้าหมายนี้ ได้ใช้ข้อมูลมาจากโครงการ Fighting against Epidemic – Global AIDS Program (LIFE – GAP) ในปี 2004 วัตถุประสงค์ของงานวิจัยแบบคัดกลุ่มประชากรตัวอย่างของกลุ่มเป้าหมายนี้ เพื่ออธิบายปัจจัยด้านสังคม และ ข้อจำกัดด้านกายภาพ ปัจจัยเสี่ยงเชิงพฤติกรรมที่มีต่อการติดเชื้อ ทั้งของกลุ่มเป้าหมายและ คู่ร่วมเพศของตน แหล่งข้อมูลที่มีผลต่อใช้บริการที่ปรึกษาอาสาสมัคร และศูนย์บริการตรวจเชื้อ HIV (VCT) โดยได้คัดสรรผู้ใช้บริการ (VCT) จำนวน 1,200 ในปี 2004 แยกตามกลุ่ม random stratified sampling จากกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 20,816 คนใน 4 จังหวัดในประเทศเวียดนาม โดยใช้ Chi-Square test เพื่อวิเคราะในระดับความน่าเชื่อถืออัตราที่ละ 0.05 จากการศึกษาพบว่า มีผู้ใช้บริการ VCT จนสำเร็จ จำนวน 88.17% ผู้ใช้บริการ 75.% มีอายุตำกว่า 35 ปี 53.42% มีสภาพสมรสหรืออาสัยอยู่กับคู่ร่วมเพศ ผู้ใช้บริการ 12.92% มีการศึกษา ในระดับบริญญาตรีขึ้นไป ผู้ใช้บริการส่วนใหญ่ (79.33%) อยู่ในเมือง มีอาการของ STD (16.92%) และ TB (7.58%) ส่วนผู้ใช้บริการที่ยอมรับว่ามีพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศสูง (เช่น CSW; IDU)มีมากถึง 59.75% ผู้ใช้บริการ VCT 56.33% ได้รบั การแนะนำให้ไปใช้บริการโดยผ่านสื่อมวลชน การวิจัย คราวนี้แสดงให้เห็นว่า ปจั จัยที่มคี วามสำคัญต่อ การใช้บริการ VCT ของผู้ใช้บริการได้แก่สภาพสมรส ที่อยู่อาศัย การมีอาการที่แสดงออกให้เห็นได้ ระดับความเสี่ยงของพฤติกรรมทางเพศ ของผู้ใช้บริการ VCT และหรือคู่รว่ มเพศ และแหล่งข้อมูลเกี่ยวกับการบริการ VCT (P-value < 0.05). ดังนั้น ผู้ที่ดูแลสุขภาพควรยกบทบาทมากขึ้นเพื่อแนะนำการใช้บริการ VCT โดยผ่านเครือข่าย ของโรงพยาบาล โครงการป้องการและดูแล HIV/AIDS สภาสังคมต่างๆ NGO และชุมชน การให้บริการ VCT ต้องไม่จำกัดอยู่ในเมืองเท่านั้นแต่ควรแพร่ไปถึงชนบทด้วย