Publication: Feasibility of Musical Prayer to Enhance the Quality of Sleep in Persons with Ovarian Cancer
dc.contributor.author | Suhong Deesamer | en_US |
dc.contributor.author | Sangthong Terathongkum | en_US |
dc.contributor.author | Noppawan Piaseu | en_US |
dc.contributor.author | Sarikapan Wilailak | en_US |
dc.contributor.author | ซู้หงษ์ ดีเสมอ | en_US |
dc.contributor.author | แสงทอง ธีระทองคำ | en_US |
dc.contributor.author | นพวรรณ เปียซื่อ | en_US |
dc.contributor.author | สฤกพรรณ วิไลลักษณ์ | en_US |
dc.contributor.other | Mahidol University. Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital. Ramathibodi School of Nursing | en_US |
dc.contributor.other | Mahidol University. Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital. Department of Obstetrics and Gynecology | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-09-30T05:13:39Z | |
dc.date.available | 2022-09-30T05:13:39Z | |
dc.date.created | 2022-09-30 | |
dc.date.issued | 2012 | |
dc.description.abstract | This quasi-experimental research study contained a one group pretest design and was carried out to investigate the feasibility of musical prayer to enhance the quality of sleep in persons with ovarian cancer. The purposive sample was selected using inclusion criteria of 10 ovarian cancer patients treated with chemotherapy at the Gynecologic Oncology Unit of Ramathibodi Hospital in Bangkok, Thailand. Participants were assigned to listen to musical prayers approximately 45 minutes before sleeping for 27 days Before and after intervention they were completed the Thai Depression Inventory, the Pittsburgh Sleep Quality Index (Thai version), and a semi-structure interview on the quality of sleep. Data were analyzed using descriptive statistics, Paired t-test and Wilcoxon Sighed-rank Test. The results revealed that after listening to musical prayer, participants showed significant increase in global sleep quality and perceived sleep quality compared to before intervention. Sleep latency, sleep duration, habitual sleep efficiency, sleep disturbance, use of sleeping medication and daytime dysfunction also improved within period of musical prayers, but without statistical significance. The participants were satisfied with musical prayer at the highest level. They also suggested applying this modality with other cancer persons to improve their quality of sleep. The study suggests that the application of musical prayer to enhance the quality of sleep in persons with ovarian cancer should take into account the personal characteristics of each individual. Further study related to the most effective means of using musical prayer on persons with ovarian cancer at the hospital and at home should be conducted. | en_US |
dc.description.abstract | บทนำ: การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลอง ชนิดกลุ่มเดียววัดก่อน-หลัง เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ของการใช้บทสวดมนต์ประกอบดนตรีในการส่งเสริมคุณภาพการนอนหลับของผู้ที่เป็นมะเร็งรังไข่ที่ได้รับยาเคมีบำบัด ณ หน่วยมะเร็งนรีเวชวิทยา โรงพยาบาลรามาธิบดี กลุ่มตัวอย่างได้รับการเลือกแบบเฉพาะเจาะจงตามเกณฑ์คุณสมบัติที่กำหนดจำนวน 10 ราย และฟังบทสวดมนต์ประกอบดนตรีก่อนเข้านอนที่บ้านเป็นระยะเวลา 27 วัน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์ข้อมูลส่วนบุคคล แบบประเมินความรุนแรงของภาวะซึมเศร้า แบบประเมินคุณภาพการนอนหลับพิทสเบอร์ก (ฉบับภาษาไทย) และการสัมภาษณ์เชิงคุณภาพเกี่ยวกับคุณภาพการนอนหลับ ก่อนและหลังการฟังบทสวดมนต์ประกอบดนตรี วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณา Paired t-test และ Wilcoxon Sighed-rank Test ผลการศึกษา: พบว่า หลังฟังเพลงสวดมนต์ประกอบดนตรีกลุ่มตัวอย่างมีคะแนนเฉลี่ยคุณภาพการนอนหลับโดยรวม และคุณภาพการนอนหลับเชิงอัตนัยดีกว่าก่อนฟังอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ คะแนนเฉลี่ยระยะเวลาตั้งแต่เข้านอนจนกระทั่งหลับ ระยะเวลาของการนอนหลับในแต่ละคืน ประสิทธิภาพของการนอนหลับโดยปกติวิสัย การรบกวนการนอนหลับ การใช้ยานอนหลับ และผลกระทบต่อการทำกิจกรรมในเวลากลางวัน ดีกว่าก่อนฟังบทสวดมนต์ประกอบดนตรี แต่ไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีความพึงพอใจโดยรวมมากที่สุด และมีความเห็นว่าควรนำเสนอบทสวดมนต์ประกอบดนตรีมาใช้เพื่อส่งเสริมคุณภาพการนอนหลับในผู้ที่เป็นมะเร็งกลุ่มอื่น ผลการศึกษามีข้อเสนอว่า การนำบทสวดมนต์ประกอบดนตรีมาใช้ในการส่งเสริมคุณภาพการนอนหลับของผู้ที่เป็นมะเร็งรังไข่ ควรพิจารณาปัจจัยส่วนบุคคล และควรศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิธีการประยุกต์ใช้บทสวดมนต์ประกอบดนตรีเพื่อให้เกิดประสิทธิผลมากที่สุดต่อผู้เป็นมะเร็งรังไข่ทั้งในโรงพยาบาลและที่บ้าน | en_US |
dc.identifier.citation | Ramathibodi Medical Journal. Vol. 35, No. 1 (Jan-Mar 2012), 31-41 | en_US |
dc.identifier.issn | 0125-3611 (Print) | |
dc.identifier.issn | 2651-0561 (Online) | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79752 | |
dc.language.iso | eng | en_US |
dc.rights | Mahidol University | en_US |
dc.rights.holder | Ramathibodi School of Nursing Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University | en_US |
dc.rights.holder | Department of Obstetrics and Gynecology Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University | en_US |
dc.subject | Musical prayer | en_US |
dc.subject | Quality of sleep | en_US |
dc.subject | Persons with ovarian cancer | en_US |
dc.subject | บทสวดมนต์ประกอบดนตรี | en_US |
dc.subject | คุณภาพการนอนหลับ | en_US |
dc.subject | ผู้ที่เป็นมะเร็งรังไข่ | en_US |
dc.title | Feasibility of Musical Prayer to Enhance the Quality of Sleep in Persons with Ovarian Cancer | en_US |
dc.title.alternative | การศึกษาความเป็นไปได้ของการใช้บทสวดมนต์ประกอบดนตรีในการส่งเสริมคุณภาพการนอนหลับของผู้ที่เป็นมะเร็งรังไข่ | en_US |
dc.type | Original Article | en_US |
dspace.entity.type | Publication | |
mods.location.url | https://he02.tci-thaijo.org/index.php/ramajournal/article/view/117750/90352 |