Publication: Factors Related to Sleep Duration and Night Waking in Hospitalized Infants with Cyanotic Congenital Heart Disease
Issued Date
2024
Resource Type
Resource Version
Accepted Manuscript
Language
eng
ISSN
2822-1370 (Print)
2822-1389 (Online)
2822-1389 (Online)
Journal Title
Nursing Research and Innovation Journal
Volume
30
Issue
1
Start Page
44
End Page
58
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Ramathibodi School of Nursing Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Bibliographic Citation
Nursing Research and Innovation Journal. Vol. 30, No. 1 (Jan-Apr 2024), 44-58
Suggested Citation
Porntiwa Sanpawut, Autchareeya Patoomwan, Jariya Wittayasooporn, พรทิวา สรรพาวุฒิ, อัจฉรียา ปทุมวัน, จริยา วิทิยะศุุภร Factors Related to Sleep Duration and Night Waking in Hospitalized Infants with Cyanotic Congenital Heart Disease. Nursing Research and Innovation Journal. Vol. 30, No. 1 (Jan-Apr 2024), 44-58. 58. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/98965
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Factors Related to Sleep Duration and Night Waking in Hospitalized Infants with Cyanotic Congenital Heart Disease
Alternative Title(s)
ปัจจัยที่สัมพันธ์กับระยะเวลาการนอนหลับและการตื่นตอนกลางคืนในทารกโรคหัวใจพิการแต่กำเนิดชนิดเขียวที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
Abstract
This study aims to describe factors related to sleep duration and night waking in infants aged 6–12 months old with cyanotic congenital heart disease (CCHD) who were admitted to a pediatric cardiology ward at a tertiary hospital between December 2019 and September 2021. Data were obtained using the Demographic Data Record Form, Sleep-related Factors Questionnaires (the severity of heart failure, temperament,and caregiving activity), and the Infants’ Sleep-wake States Record Form. The record forms were assessed using video recording of the infants during 24 hours, and the data were then analyzed using descriptive statistics, the Pearson product-moment correlation coefficient, and Spearman’s rho correlation. The results revealed that most hospitalized infants with CCHD had a mean total sleep duration during the 24 hours of 770.44 minutes. The average number of night waking was 14.26 times/night. According to the correlation analysis, the severity of heart failure did not show a statistically significant correlation with sleep duration or night waking. Temperament was moderately and significantly correlated with sleep duration but not with night waking. Caregiving activities were moderately and significantly correlated with sleep duration and night waking. These results demonstrate that nurses and healthcare professionals should be aware of sleep problems in infants with cyanotic congenital heart disease and plan interventions to manage sleep disturbance to ensure good sleep quality.
การวิจัยพรรนานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระยะเวลานอนหลับและการตื่นนอนกลางคืนรวมถึงปัจจัยที่เกี่ยวข้องของทารกโรคหัวใจพิการแต่กำเนิดชนิดเขียวอายุ 6-12 เดือนที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยเด็กโรคหัวใจ โรงพยาบาลระดับตติยภูมิแห่งหนึ่ง ระหว่างเดือนธันวาคม 2562 ถึง กันยายน 2564 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลแบบสอบถามปัจจัยที่สัมพันธ์กับการนอนหลับ (ความรุนแรงของภาวะหัวใจวายในเด็ก) พื้นฐานทางอารมณ์ และกิจกรรมการดูแล) และแบบประเมินพฤติกรรมการหลับตื่นของทารก โดยบันทึกวิดีโอเป็นระยะเวลา 24 ชั่วโมง วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรนาและวิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยใช้สถิติสหสัมพันธ์เพียร์สัน และสหสัมพันธ์แบบสเปียร์แมน ผลการศึกษาพบว่าทารกโรคหัวใจพิการแต่กำเนิดชนิดเขียวมีระยะเวลาการนอนหลับรวมทั้งวันเฉลี่ย 770.44 นาที และตื่นตอนกลางคืนเฉลี่ย 14026 ครั้ง ผลวิเคราะห์หาความสัมพันธ์พบว่า ระดับความรุนแรงของภาวะหัวใจวายไม่มีความสัมพันธ์กับระยะเวลาการนอนหลับและการตื่นตอนกลางคืนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ พื้นฐานทางอารมณ์มีความสัมพันธ์ระดับปานกลางกับระยะเวลาการนอนหลับอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ แต่ไม่พบความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับการตื่นตอนกลางคืน และกิจกรรมการดูแลมีความสัมพันธ์ระดับปานกลางกับระยะเวลาการนอนหลับและการตื่นตอนกลางคืน การศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าพยาบาลและบุคลากรทางการแพทย์ตระหนักถึงปัญหาการนอนหลับของทารกโรคหัวใจพิการแต่กำเนิดชนิดเขียว และนำข้อมูลไปวางแผนการพยาบาลเพื่อนำไปสู่คุณภาพการนอนหลับที่ดี
การวิจัยพรรนานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระยะเวลานอนหลับและการตื่นนอนกลางคืนรวมถึงปัจจัยที่เกี่ยวข้องของทารกโรคหัวใจพิการแต่กำเนิดชนิดเขียวอายุ 6-12 เดือนที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยเด็กโรคหัวใจ โรงพยาบาลระดับตติยภูมิแห่งหนึ่ง ระหว่างเดือนธันวาคม 2562 ถึง กันยายน 2564 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลแบบสอบถามปัจจัยที่สัมพันธ์กับการนอนหลับ (ความรุนแรงของภาวะหัวใจวายในเด็ก) พื้นฐานทางอารมณ์ และกิจกรรมการดูแล) และแบบประเมินพฤติกรรมการหลับตื่นของทารก โดยบันทึกวิดีโอเป็นระยะเวลา 24 ชั่วโมง วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรนาและวิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยใช้สถิติสหสัมพันธ์เพียร์สัน และสหสัมพันธ์แบบสเปียร์แมน ผลการศึกษาพบว่าทารกโรคหัวใจพิการแต่กำเนิดชนิดเขียวมีระยะเวลาการนอนหลับรวมทั้งวันเฉลี่ย 770.44 นาที และตื่นตอนกลางคืนเฉลี่ย 14026 ครั้ง ผลวิเคราะห์หาความสัมพันธ์พบว่า ระดับความรุนแรงของภาวะหัวใจวายไม่มีความสัมพันธ์กับระยะเวลาการนอนหลับและการตื่นตอนกลางคืนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ พื้นฐานทางอารมณ์มีความสัมพันธ์ระดับปานกลางกับระยะเวลาการนอนหลับอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ แต่ไม่พบความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับการตื่นตอนกลางคืน และกิจกรรมการดูแลมีความสัมพันธ์ระดับปานกลางกับระยะเวลาการนอนหลับและการตื่นตอนกลางคืน การศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าพยาบาลและบุคลากรทางการแพทย์ตระหนักถึงปัญหาการนอนหลับของทารกโรคหัวใจพิการแต่กำเนิดชนิดเขียว และนำข้อมูลไปวางแผนการพยาบาลเพื่อนำไปสู่คุณภาพการนอนหลับที่ดี