Publication: Factors Associated with Quality of Life among Patients with Lung Cancer
Issued Date
2017
Resource Type
Language
eng
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
Journal of Nursing Science. Vol.35(Suppl.1), No. 3 (July - September 2017), 79-86
Suggested Citation
Phan Thi Thu Hue, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์, Wallada Chanruangvanich, วิมลรัตน์ ภู่วราวุฒิพาณิช, Wimolrat Puwarawuttipanit Factors Associated with Quality of Life among Patients with Lung Cancer. Journal of Nursing Science. Vol.35(Suppl.1), No. 3 (July - September 2017), 79-86. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/44107
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Factors Associated with Quality of Life among Patients with Lung Cancer
Alternative Title(s)
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยมะเร็งปอด
Abstract
Purpose: To determine factors associated with QOL among patients with lung cancer in Vietnam.
Design: Descriptive correlational design.
Methods: Sample was 115 patients who received treatment at Bac Mai Hospital, Hanoi, Vietnam. Data were collected from the patients’ hospital records, assessed Forced Expiratory Volume in 1 second scale (FEV1), and interviewed with 3 questionnaires: the Hamilton Anxiety Rating Scale (HAM-A), the Multidimensional Scale of Perceived Social Support (MSPSS), and Quality of Life for cancer (EORTC QLQ-C30). Spearman’s Rho was employed to test the relationship among studied variables.
Main findings: The findings revealed that QOL of patients with lung cancer was low (Mean = 48.97, SD = 7.94). Lung function was significant positively correlated with QOL (rs = .190, p < .05). Conversely, anxiety was significant negatively correlated with QOL (r = - .347, p < .05).
Conclusion and recommendations: Lung function and anxiety were significantly correlated with QOL of patients with lung cancer. In order to improve the QOL, nurses and health care team should assess and well manage anxiety and provide social support to patients.
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยมะเร็งปอด ประเทศเวียดนาม รูปแบบการวิจัย: วิจัยเชิงสหสัมพันธ์ วิธีดำเนินการวิจัย: ผู้วิจัยเก็บข้อมูลจากผู้ป่วย จำนวน 115 คน ที่มารับการรักษาในโรงพยาบาลแบคมาย เมืองฮานอย ประเทศเวียดนาม เก็บข้อมูลโดยประเมินค่าสมรรถภาพของปอด (FEV1) บันทึกข้อมูลจากแฟ้มประวัติ และใช้แบบสอบถามวัดความวิตกกังวล (HAM-A) การสนับสนุนทางสังคม (MSPSS) และคุณภาพชีวิต (EORTC QLQ-C30) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าสถิติ Spearman’s rho ผลการวิจัย: ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตอยู่ในระดับต่ำ (Mean = 48.97, SD = 7.94) ค่าสมรรถภาพของปอดมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับคุณภาพชีวิต (rs = .190, p < .05) และความวิตกกังวลมีความสัมพันธ์เชิงลบกับคุณภาพชีวิต (r = - .347, p < .05). สรุปและข้อเสนอแนะ: ค่าสมรรถภาพของปอดและความวิตกกังวลมีความสัมพันธ์เชิงลบกับคุณภาพชีวิต ดังนั้นผู้ป่วยควรได้รับการประเมินและส่งเสริมสมรรถภาพของปอด ตลอดจนการประเมินความวิตกกังวลเป็นระยะช่วงมาตรวจตามนัด และควรพัฒนาโปรแกรมจัดการความวิตกกังวลสำหรับผู้ป่วย เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลที่ครอบคลุมและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยมะเร็งปอด ประเทศเวียดนาม รูปแบบการวิจัย: วิจัยเชิงสหสัมพันธ์ วิธีดำเนินการวิจัย: ผู้วิจัยเก็บข้อมูลจากผู้ป่วย จำนวน 115 คน ที่มารับการรักษาในโรงพยาบาลแบคมาย เมืองฮานอย ประเทศเวียดนาม เก็บข้อมูลโดยประเมินค่าสมรรถภาพของปอด (FEV1) บันทึกข้อมูลจากแฟ้มประวัติ และใช้แบบสอบถามวัดความวิตกกังวล (HAM-A) การสนับสนุนทางสังคม (MSPSS) และคุณภาพชีวิต (EORTC QLQ-C30) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าสถิติ Spearman’s rho ผลการวิจัย: ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตอยู่ในระดับต่ำ (Mean = 48.97, SD = 7.94) ค่าสมรรถภาพของปอดมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับคุณภาพชีวิต (rs = .190, p < .05) และความวิตกกังวลมีความสัมพันธ์เชิงลบกับคุณภาพชีวิต (r = - .347, p < .05). สรุปและข้อเสนอแนะ: ค่าสมรรถภาพของปอดและความวิตกกังวลมีความสัมพันธ์เชิงลบกับคุณภาพชีวิต ดังนั้นผู้ป่วยควรได้รับการประเมินและส่งเสริมสมรรถภาพของปอด ตลอดจนการประเมินความวิตกกังวลเป็นระยะช่วงมาตรวจตามนัด และควรพัฒนาโปรแกรมจัดการความวิตกกังวลสำหรับผู้ป่วย เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลที่ครอบคลุมและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น