Publication: The use of fermented feather meal for replacement fish meal in the diet of Oreochromus Niloticus
Issued Date
2008-06
Resource Type
Language
eng
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Faculty of Environment and Resource Studies. Mahidol University
Bibliographic Citation
Environment and Natural Resources Journal. Vol.6, No.1 (2008), 13-24
Suggested Citation
Chumlong Arunlertaree, Chutinthorn Moolthongnoi The use of fermented feather meal for replacement fish meal in the diet of Oreochromus Niloticus. Environment and Natural Resources Journal. Vol.6, No.1 (2008), 13-24. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/3205
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
The use of fermented feather meal for replacement fish meal in the diet of Oreochromus Niloticus
Alternative Title(s)
การใช้ขนไก่ป่นทดแทนปลาป่นในสูตรอาหารเลี้ยงปลานิล
Other Contributor(s)
Abstract
The suitability of fermented feather meal (FFM) as a replacement of dietary fish meal protein in the
diet for tilapia was evaluated. Five diets were formulated in which fish meal (FM) in the control diet
(diet 1) was replaced by FFM in the following percentages: 0/100, 25/75, 50/50 75/25 and 100/0
(FFM/FM). All the diets were contained with 30 % protein. Each diet was proffered to three replicate
groups of 60 tilapia (20 per replicate) with average initial body weight 120.0 ± 5.0 g for 12 weeks.
Survival was not significantly different among diet formulas (100 %). The individuals fed with 0/100,
25/75 and 50/50 (FFM/FM) did not differ significantly in average weight gain, however, individuals
fed with 100/0 (FFM/FM) was significantly poorest than those fed all other diets at the end of
experimental periods. The results of the present study indicated that fermented feather meal could be
used at 25 % up to 50 % of the diet level for Oreochromis niloticus without compromising growth
and feed utilization efficiency. However, it’s appeared to result in a decrease in weight gain and
associated growth parameters with high increasing replacement.
การใช้ขนไก่ป่นทดแทนปลาป่นในสูตรอาหารสำหรับปลานิล (Oreochromis niloticus) ต่อผลการเจริญเติบโต และการใช้ประโยชน์จากอาหารของปลา โดยสูตรอาหารมีโปรตีนเท่ากันที่ 30% อาหารสูตรที่1 ใช้ปลาป่น100% โดยใช้ขนไก่ป่นในอัตราส่วนทดแทนระหว่างขนไก่ป่นต่อปลาป่น 0/100 เพื่อเป็นอาหารชุดควบคุม และสูตรที่ 2, 3, 4 และ 5 ใช้ในอัตราส่วนเป็น 25/75, 50/50, 75/25 และ 100/0 ตามลำดับ การทดลองใช้ปลานิล 60 ตัวต่อ หนึ่งสูตรอาหาร (20 ตัวต่อหนึ่งซ้ำ) น้ำหนักเฉลี่ยปลานิลเริ่มต้น 120.0 ± 5.0 กรัม ผลการวิจัยพบว่า ปลานิลที่ เลี้ยงด้วยอาหารสูตรที่ 1 มีน้ำหนักเมื่อสิ้นสุดการทดลองไม่แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ เมื่อเปรียบเทีบยกับสูตรที่ 2 และ 3 และสูตรอาหารที่ 5 (อัตราส่วน 100/0) ให้ผลการเจริญเติบโตและการใช้ประโยชน์จากอาหารของปลา นิลน้อยกว่าสูตรอื่นๆ ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าขนไก่ป่นสามารถทนแทนโปรตีนจากปลาป่นได้ในอัตราส่วน ทดแทนระหว่าง 25 ถึง 50 เปอร์เซ็นต์ในสูตรอาหารสำหรับเลี้ยงปลานิล โดยไม่ส่งผลต่อการเจริญเติบโตและ การใช้ประโยชน์จากอาหารของปลานิล
การใช้ขนไก่ป่นทดแทนปลาป่นในสูตรอาหารสำหรับปลานิล (Oreochromis niloticus) ต่อผลการเจริญเติบโต และการใช้ประโยชน์จากอาหารของปลา โดยสูตรอาหารมีโปรตีนเท่ากันที่ 30% อาหารสูตรที่1 ใช้ปลาป่น100% โดยใช้ขนไก่ป่นในอัตราส่วนทดแทนระหว่างขนไก่ป่นต่อปลาป่น 0/100 เพื่อเป็นอาหารชุดควบคุม และสูตรที่ 2, 3, 4 และ 5 ใช้ในอัตราส่วนเป็น 25/75, 50/50, 75/25 และ 100/0 ตามลำดับ การทดลองใช้ปลานิล 60 ตัวต่อ หนึ่งสูตรอาหาร (20 ตัวต่อหนึ่งซ้ำ) น้ำหนักเฉลี่ยปลานิลเริ่มต้น 120.0 ± 5.0 กรัม ผลการวิจัยพบว่า ปลานิลที่ เลี้ยงด้วยอาหารสูตรที่ 1 มีน้ำหนักเมื่อสิ้นสุดการทดลองไม่แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ เมื่อเปรียบเทีบยกับสูตรที่ 2 และ 3 และสูตรอาหารที่ 5 (อัตราส่วน 100/0) ให้ผลการเจริญเติบโตและการใช้ประโยชน์จากอาหารของปลา นิลน้อยกว่าสูตรอื่นๆ ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าขนไก่ป่นสามารถทนแทนโปรตีนจากปลาป่นได้ในอัตราส่วน ทดแทนระหว่าง 25 ถึง 50 เปอร์เซ็นต์ในสูตรอาหารสำหรับเลี้ยงปลานิล โดยไม่ส่งผลต่อการเจริญเติบโตและ การใช้ประโยชน์จากอาหารของปลานิล