Publication: การแปลและการตรวจสอบความเที่ยงของแบบประเมินความเสี่ยงของการเกิดแผลกดทับของบราเดนคิวดีฉบับภาษาไทยในกลุ่มผู้ป่วยเด็ก
Issued Date
2565
Resource Type
Language
tha
ISSN
0858-9739 (Print)
2672-9784 (Online)
2672-9784 (Online)
Rights
มหาวิทยาลัยมหิดล
Rights Holder(s)
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
รามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 28 ฉบับที่ 1 (ม.ค.-เม.ย. 2565), 16-29
Suggested Citation
จิราภรณ์ ปั้นอยู่, สุุพัตรา เผ่าพันธ์, ณัฎฐสิทธิ์ คัชมาตย์, Jiraporn Punyoo, Supatra Phaopant, Nattasit Katchamat การแปลและการตรวจสอบความเที่ยงของแบบประเมินความเสี่ยงของการเกิดแผลกดทับของบราเดนคิวดีฉบับภาษาไทยในกลุ่มผู้ป่วยเด็ก. รามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 28 ฉบับที่ 1 (ม.ค.-เม.ย. 2565), 16-29. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/72076
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
การแปลและการตรวจสอบความเที่ยงของแบบประเมินความเสี่ยงของการเกิดแผลกดทับของบราเดนคิวดีฉบับภาษาไทยในกลุ่มผู้ป่วยเด็ก
Alternative Title(s)
Translation and Validation of the Braden QD Scale (Thai version) for Predicting Pediatric Pressure Injury Risk in Pediatric Critically Ill Patients
Other Contributor(s)
Abstract
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อแปลแบบประเมินความเสี่ยงการเกิดแผลกดทับของบราเดนคิวดีจากต้นฉบับภาษาอังกฤษเป็นฉบับภาษาไทย และตรวจสอบความเที่ยงของแบบประเมินความเสี่ยงการเกิดแผลกดทับของบราเดนคิวดีฉบับภาษาไทยในกลุ่มผู้ป่วยเด็กภาวะวิกฤตที่ได้รับการรักษาตัวในหอผู้ป่วยกุมารเวชบำบัดวิกฤต การศึกษาครั้งนี้แบ่งออกเป็น 2 ระยะ ระยะที่ 1 กระบวนการแปลและทดสอบเครื่องมือ และระยะที่ 2 การนำไปใช้ในกลุ่มตัวอย่างขนาดใหญ่ กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยเด็กภาวะวิกฤตที่มีอายุตั้งแต่ 1 เดือนจนถึง 18 ปี ที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยกุมารเวชบำบัดวิกฤต โรงพยาบาลรามาธิบดี ที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์การคัดเข้า จำนวน 85 ราย โดยแบ่งเป็นระยะที่ 1 จำนวน 10 ราย และระยะที่ 2 จำนวน 75 ราย วิเคราะห์ข้อมูลการหาค่าความเที่ยงของแบบสังเกต และวิเคราะห์ค่าความตรงตามสภาพ โดยการหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ ผลการศึกษาพบว่าค่าความเที่ยงของแบบประเมินความเสี่ยงการเกิดแผลกดทับ ของบราเดนคิวดีฉบับภาษาไทย มีค่าสหสัมพันธ์ภายในอยู่ในระดับสูง และมีความตรงตามสภาพ โดยคะแนนแบบประเมินความเสี่ยงการเกิดแผลกดทับของบราเดนคิวดีฉบับภาษาไทยมีความสัมพันธ์ทางลบในระดับปานกลางกับคะแนนแบบประเมินความเสี่ยงการเกิดแผลกดทับของบราเดนคิวอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ดังนั้น แบบประเมินความเสี่ยงของการเกิดแผลกดทับของบราเดนคิวดีฉบับภาษาไทยเป็นเครื่องมือที่มีคุณภาพสามารถนำไปใช้ในการประเมินความเสี่ยงของการเกิดแผลกดทับในกลุ่มผู้ป่วยเด็กได้
This study aimed to translate the Braden QD scale for predicting pediatric pressure injury risk from the original English version into the Thai version and validate the reliability of the Braden QD scale (Thai version) in critically ill patients admitted to the pediatric intensive care unit. This study was divided into Phase I: a translation process and verification, and Phase II: a testing process with critically ill pediatric patients.The sample consisted of 85 critically ill pediatric patients, aged one month to 18 years,admitted to the Pediatric Intensive Care Unit at Ramathibodi Hospital and met inclusion criteria. They were divided into ten patients for the first phase and 75 patients for the second phase. The interrater reliability and concurrent validity were used to determine psychometric properties of the Braden QD scale (Thai version). The result revealed a high intraclass correlation coefficient (ICC) between the Braden QD scale (Thai version) and the Braden Q scale. For the concurrent validity when the Braden Q scale was used as the reference, the correlation between the scores on the Braden QD scale (Thai version)and those on the Braden Q scale was significantly moderate and negative when the scores were reversed to obtain the same meaning. Hence, the Braden QD Scale (Thai version)is an acceptable tool to assess pressure injury risk in critically ill pediatric patients.
This study aimed to translate the Braden QD scale for predicting pediatric pressure injury risk from the original English version into the Thai version and validate the reliability of the Braden QD scale (Thai version) in critically ill patients admitted to the pediatric intensive care unit. This study was divided into Phase I: a translation process and verification, and Phase II: a testing process with critically ill pediatric patients.The sample consisted of 85 critically ill pediatric patients, aged one month to 18 years,admitted to the Pediatric Intensive Care Unit at Ramathibodi Hospital and met inclusion criteria. They were divided into ten patients for the first phase and 75 patients for the second phase. The interrater reliability and concurrent validity were used to determine psychometric properties of the Braden QD scale (Thai version). The result revealed a high intraclass correlation coefficient (ICC) between the Braden QD scale (Thai version) and the Braden Q scale. For the concurrent validity when the Braden Q scale was used as the reference, the correlation between the scores on the Braden QD scale (Thai version)and those on the Braden Q scale was significantly moderate and negative when the scores were reversed to obtain the same meaning. Hence, the Braden QD Scale (Thai version)is an acceptable tool to assess pressure injury risk in critically ill pediatric patients.