Publication: โครงสร้างปริจเฉทและกลวิธีทางภาษาในการสนทนาระหว่างคู่สนทนาที่ไม่รู้จักกันในรายการ “ต่อปาก ต่อคำ ติดไฟแดง”
dc.contributor.author | จักริน ฉัตรไชยพฤกษ์ | en_US |
dc.contributor.author | เขมฤทัย บุญวรรณ | en_US |
dc.contributor.author | Khemruthai Boonwan | en_US |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะศิลปศาสตร์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-04-21T02:57:25Z | |
dc.date.available | 2022-04-21T02:57:25Z | |
dc.date.created | 2565-04-21 | |
dc.date.issued | 2562 | |
dc.description.abstract | บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาโครงสร้างปริจเฉทการสนทนา และวิเคราะห์กลวิธีทางภาษาในการสนทนาระหว่างคู่สนทนาที่ไม่รู้จักกันในรายการ “ต่อปาก ต่อคำ ติดไฟแดง” โดยเก็บข้อมูลรายการเฉพาะส่วนการสนทนาจำนวน 10 ตอนที่มีจำนวนผู้เข้าชมสูงที่สุด ผลการศึกษาพบโครงสร้างปริจเฉท 3 ส่วน ได้แก่ โครงสร้างส่วนเริ่ม โครงสร้างส่วนเนื้อหา และโครงสร้างส่วนท้าย โครงสร้างส่วนเริ่มประกอบด้วย 1) การทักทาย 3 รูปแบบ ได้แก่ การใช้คำทักทาย การใช้คำทักทายร่วมกับ การสอบถามเรื่องทั่วไป และการใช้คำทักทายร่วมกับการสอบถามจุดหมายปลายทาง และ2) การสอบถาม 3 รูปแบบ ได้แก่ การสอบถามเรื่องทั่วไป การสอบถามจุดหมายปลายทาง และการสอบถามเรื่องทั่วไปร่วมกับการสอบถามจุดหมายปลายทาง โครงสร้างส่วนเนื้อหาประกอบด้วย 1) การตอบรับ-สอบถาม และ 2) การโฆษณา และโครงสร้างส่วนท้ายประกอบด้วย 1) การอำลา ด้วยการใช้คำอำลา การใช้คำขอบคุณ การใช้คำอวยพร การใช้อวัจนภาษา หรือการใช้หลายรูปแบบร่วมกัน และ 2) การตัดจบการสนทนา เนื่องจากการจราจรเคลื่อนตัว ส่วนกลวิธีทางภาษาประกอบด้วย 9 กลวิธี ได้แก่ การใช้มูลบท การใช้ถ้อยคำนัยผกผัน การกล่าวซ้ำ การขยายความ การเปรียบเทียบ การกล่าวเหนือความคาดหมาย การเล่นเสียง-เล่นคำ การหักมุม และการใช้คำสรรพนามแบบคำเรียกญาติ เพื่อแสดงความเป็นกันเองต่อคู่สนทนา ซึ่งการใช้กลวิธีทางภาษาต่าง ๆ สามารถสร้างอารมณ์ขันหรือให้ความบันเทิงตามวัตถุประสงค์ของรายการ | en_US |
dc.description.abstract | This article aims to study the discourse structure of conversation and analyze the language strategies in conversational discourse in conversations between unrelated conversations in "Tor Pak Tor Kham Tidfaidaeng Program" by collecting data for only 10 conversations with the highest number of visitors. The results of the study found that the discourse structure was 3 parts, included starting conversation by greeting and asking, Content structure by acceptance-inquiry and 2) advertising and the ending structure by Farewell and cutting off the conversation. The language strategy consists of 9 strategies, including 1) modality 2) verbal irony 3) Other-repetition 4) Expansion 5) comparison 6) anticipation 7) using sound -puns 8) Using punch line 9) using pronoun-kinship terms. Using language strategies can create humor or entertain according to the purpose of the program | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. ปีที่ 2, ฉบับที่ 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2562), 47-73 | en_US |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/64549 | |
dc.language.iso | tha | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.rights.holder | คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.subject | โครงสร้างปริจเฉทการสนทนา | en_US |
dc.subject | กลวิธีทางภาษา | en_US |
dc.subject | คู่สนทนาที่ไม่รู้จักกัน | en_US |
dc.subject | รายการออนไลน์ | en_US |
dc.subject | Discourse structure | en_US |
dc.subject | language strategy, | en_US |
dc.subject | unknown interlocutor | en_US |
dc.subject | online program | en_US |
dc.subject | วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.subject | The Liberal Arts Journal | en_US |
dc.title | โครงสร้างปริจเฉทและกลวิธีทางภาษาในการสนทนาระหว่างคู่สนทนาที่ไม่รู้จักกันในรายการ “ต่อปาก ต่อคำ ติดไฟแดง” | en_US |
dc.title.alternative | Discourse Structure andLanguage Strategy in Unknown interlocutor "Tor Pak Tor Kham Tidfaidaeng" | en_US |
dc.type | Research Article | en_US |
dspace.entity.type | Publication | |
mods.location.url | https://so02.tci-thaijo.org/index.php/lajournal/article/view/242881 |