Publication:
ผลของการใข้โปรแกรมการจัดการตนเองต่อการรับรู้สมรรถนะของตนเองในการควบคุมอาการหายใจลำบาก และความทนทานในการออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง

dc.contributor.authorดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศen_US
dc.contributor.authorละเอียด จารุสมบัติen_US
dc.contributor.authorพิทักษ์ ไชยกูลen_US
dc.contributor.authorเวทิส ประทุมศรีen_US
dc.contributor.authorDoungrut Wattanakitkrilearten_US
dc.contributor.authorLaaid Jarusombaten_US
dc.contributor.authorPhitak Chaiyakulen_US
dc.contributor.authorVetis Pratumsrien_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2019-10-30T03:39:16Z
dc.date.available2019-10-30T03:39:16Z
dc.date.created2562-10-30
dc.date.issued2558
dc.description.abstractการวิจัยนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลองเพื่อศึกษาผลของการใช้โปรแกรมการจัดการตนเองต่อการ รับรู้สมรรถนะของตนเองในการควบคุมอาการหายใจลำบาก และความทนทานในการออกกำลังกายใน ผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง โดยใช้กรอบแนวคิดการสนับสนุนการจัดการตนเองของ วากเนอร์และคณะ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยปอดอุดกั้นเรื้อรังเข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยอายุรกรรม โรงพยาบาลระดับทุติย ภูมิแห่งหนึ่งด้วยอาการหายใจลำบาก จำนวน 70 รายแบ่งเป็นกลุ่มควบคุม 35 รายและกลุ่มทดลอง 35 ราย กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติกลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการจัดการตนเอง 8 สัปดาห์ประกอบด้วย การให้ความรู้และฝึกทักษะพื้นฐานในการจัดการตนเอง และการสนับสนุนให้ผู้ป่วยได้ปฏิบัติกิจกรรมการ จัดการตนเองโดยยึดผู้ป่วยเป็นศูนย์กลางร่วมกับการสนับสนุนให้ครอบครัวมีส่วนร่วมและติดตามเยี่ยม ประเมินผลในสัปดาห์ที่ 4 และ 8 เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วย แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล แบบวัดการ รับรู้สมรรถนะของตนเองในการควบคุมอาการหายใจลำบาก และประเมินความทนทานในการออกกำลัง กายโดยการทดสอบระยะทางที่เดินได้ใน 6 นาทีวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย การวิเคราะห์ความ แปรปรวนแบบวัดซ้ำ 1 ปัจจัย ร่วมกับการเปรียบเทียบระหว่างกลุ่ม ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 99.30 เป็นเพศชาย มีอายุเฉลี่ย 68.64 ปี (SD = 8.99) กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมมีอายุเฉลี่ย ไม่แตกต่างกันภายหลังการทดลองกลุ่มทดลองมีการรับรู้สมรรถนะของตนเองในการควบคุมอาการหายใจ ลำบากแตกต่างจากกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติและกลุ่มทดลองมีความทนทานในการ ออกกำลังกายไม่แตกต่างจากกลุ่มควบคุม การศึกษาครั้งนี้มีข้อเสนอแนะว่า การจัดการตนเองในผู้ป่วย ปอดอุดกั้นเรื้อรังจะประสบผลสำเร็จได้ผู้ป่วยจะต้องมีส่วนร่วมในการวางแผนจัดกิจกรรม โดยครอบครัว เป็นผู้สนับสนุน พยาบาลเป็นผู้ส่งเสริมสมรรถนะในการปฏิบัติกิจกรรม และเป็นหุ้นส่วนในการจัดการ ตนเองของผู้ป่วยen_US
dc.description.abstractThis quasi-experiment aimed to examine effects of a self-management program on perceived self-efficacy to control dyspnea, and exercise tolerance by using Wagner’s self management program as the conceptual framework. Seventy patients who were diagnosed with chronic obstructive pulmonary disease and admitted to a secondary hospital with dyspnea were divided into the experimental and control group with 35 patients each. The experimental group received a self-management program, which comprised self-management education and skill training with patient-centered, family support, home visits, and follow ups. The program was carried out for 8 weeks and evaluated at Week 4 and Week 8. Data were collected through the Personal Data Questionnaire, the Perceived Self-Efficacy to Control Dyspnea Questionnaire, and exercise tolerance was determined by the Six-Minute Walk Test. Data were analyzed using descriptive statistics, one-factor repeated measures ANOVA and compared mean between groups. Results revealed that almost all (99.30%) of the sample were men and the mean age was 68.64 years. There were no differences in age between the experimental and control groups. There was a significant difference in perceived self-efficacy to control dyspnea between the experimental group and the control group, but exercise tolerance was not significantly different. The study findings suggest that the self-management program should have patients’ involvement in self-management planning with supporting care by family. Nurses should promote self-efficacy and work as a partnership in self-management.en_US
dc.identifier.citationรามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 21, ฉบับที่ 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2558), 352-367en_US
dc.identifier.issn0858-9739 (Print)
dc.identifier.issn2672-9784 (Online)
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/47982
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectโปรแกรมการจัดการตนเองen_US
dc.subjectการควบคุมอาการหายใจลำบากen_US
dc.subjectการรับรู้สมรรถนะของตนเองen_US
dc.subjectความทนทานในการออกกำลังกายen_US
dc.subjectผู้ป่วยปอดอุดกั้นเรื้อรังen_US
dc.subjectChronic obstructive pulmonary diseaseen_US
dc.subjectSelf-management programen_US
dc.subjectPerceived self-efficacyen_US
dc.subjectDyspneaen_US
dc.subjectExercise toleranceen_US
dc.titleผลของการใข้โปรแกรมการจัดการตนเองต่อการรับรู้สมรรถนะของตนเองในการควบคุมอาการหายใจลำบาก และความทนทานในการออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังen_US
dc.title.alternativeEffects of a Self-Management Program on Perceived Self-efficacy to Control Dyspnea and Exercise Tolerance in Patients with Chronic Obstructive Pulmonary Diseaseen_US
dc.typeResearch Articleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://www.tci-thaijo.org/index.php/RNJ/article/view/49723/46833

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ns-ar-doungrut-2558.pdf
Size:
592.25 KB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections