Publication: ปัจจัยทำนายความต้องการการจัดบริการด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ในสถานศึกษาของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา จังหวัดฉะเชิงเทรา
Issued Date
2562
Resource Type
Language
tha
Rights
มหาวิทยาลัยมหิดล
Rights Holder(s)
คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วารสารสุขศึกษา. ปีที่ 42, ฉบับที่ 2 (ก.ค.- ธ.ค. 2562), 33-43
Suggested Citation
อุทุมพร งามสง่า, โชคชัย หมั่นแสวงทรัพย์, สุธรรม นันทมงคลชัย, ศุภชัย ปิติกุลตัง ปัจจัยทำนายความต้องการการจัดบริการด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ในสถานศึกษาของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา จังหวัดฉะเชิงเทรา. วารสารสุขศึกษา. ปีที่ 42, ฉบับที่ 2 (ก.ค.- ธ.ค. 2562), 33-43. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/72113
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
ปัจจัยทำนายความต้องการการจัดบริการด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ในสถานศึกษาของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา จังหวัดฉะเชิงเทรา
Alternative Title(s)
Factor Prediction Reproductive Health Service Needs of Secondary School Students in Chachoengsao Province
Other Contributor(s)
Abstract
การวิจัยเชิงสำรวจแบบภาคตัดขวาง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความต้องการและปัจจัยทำนายความต้องการการจัดบริการด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ในสถานศึกษาของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา จังหวัดฉะเชิงเทรา กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนที่กำลังศึกษาอยู่ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 อายุ 12-18 ปี จำนวน 303 คน โดยสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามชนิดเลือกตอบด้วยตนเอง ในระหว่างวันที่ 1-31 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติไคสแควร์ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการศึกษา พบว่า ความต้องการการจัดบริการด้านอนามัยการเจริญพันธุ์อยู่ในระดับสูง ร้อยละ 35.3 ปัจจัยทำนายความต้องการการจัดบริการด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ในสถานศึกษาของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา ได้แก่ การรับรู้พระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559 ทัศนคติต่อการจัดบริการด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ อายุ ความรู้เกี่ยวกับอนามัยการเจริญพันธุ์ และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สามารถร่วมทำนายได้ร้อยละ 48.7 (R2=0.487 p<0.05) ผลการศึกษาครั้งนี้สามารถนำข้อมูลใช้เป็นแนวทางการจัดบริการด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ในสถานศึกษาให้ตรงตามความต้องการของนักเรียนได้มากยิ่งขึ้น
The cross-sectional survey research aimed to study the needs and predicting factors of reproductive health service needs of secondary school students in Chachoengsao Province. The samples consisted of 303 secondary school students aged 12-18 years. A stratified random sampling method was applied for the recruitment of participants. Data were collected using a self-administered questionnaire during the period from 1st to 31st July 2018. Data were analyzed by Descriptive statistic, Chi-square test, Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient and Multiple regression analysis, The study showed that the need for reproductive health services in secondary school was 35.3%. Predicting factors of reproductive health service needs of secondary school students were the perception in the act for prevention and solution of the adolescent pregnancy problem, B.E. 2559, attitude towards reproductive health services, age, reproductive health knowledge and learning achievement which can predict around 48.7%. (R2=0.487 p<0.05). The study results can be used as a guideline for the provision of reproductive health services in schools to meet student needs.
The cross-sectional survey research aimed to study the needs and predicting factors of reproductive health service needs of secondary school students in Chachoengsao Province. The samples consisted of 303 secondary school students aged 12-18 years. A stratified random sampling method was applied for the recruitment of participants. Data were collected using a self-administered questionnaire during the period from 1st to 31st July 2018. Data were analyzed by Descriptive statistic, Chi-square test, Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient and Multiple regression analysis, The study showed that the need for reproductive health services in secondary school was 35.3%. Predicting factors of reproductive health service needs of secondary school students were the perception in the act for prevention and solution of the adolescent pregnancy problem, B.E. 2559, attitude towards reproductive health services, age, reproductive health knowledge and learning achievement which can predict around 48.7%. (R2=0.487 p<0.05). The study results can be used as a guideline for the provision of reproductive health services in schools to meet student needs.