Publication:
การจัดการกับความปวด และความพึงพอใจต่อการจัดการกับความปวดในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดมดลูกออกทางหน้าท้อง

dc.contributor.authorสมพร ชินโนรสen_US
dc.contributor.authorมยุรี จิรภิญโญen_US
dc.contributor.authorขวัญจิตร์ ปุ่นโพธิ์en_US
dc.contributor.authorSomporn Chinnorosen_US
dc.contributor.authorMayuree Jirapinyoen_US
dc.contributor.authorKwanjit Punphoen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยาen_US
dc.date.accessioned2020-02-20T06:35:50Z
dc.date.available2020-02-20T06:35:50Z
dc.date.created2563-02-20
dc.date.issued2552
dc.description.abstractการวิจัยเชิงบรรยายนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ความปวดใน 3 วันแรกหลังผ่าตัด มดลูกออกทางหน้าท้อง 2) วิธีจัดการกับความปวด 3) ผลของความปวดต่อการปฏิบัติกิจวัตร ประจำวัน และ 4) ความพึงพอใจของผู้ป่วยต่อการจัดการกับความปวดที่ได้รับ โดยใช้กรอบแนวคิด การจัดการกับอาการของดอดด์และคณะ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดมดลูกออก ทางหน้าท้องซึ่งเข้ารับการรักษา ณ หอผู้ป่วยนรีเวชและหอผู้ป่วยสูติกรรมพิเศษโรงพยาบาลรามาธิบดี ระหว่างเดือนตุลาคมถึงเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2549 จำนวน 110 ราย เลือกตัวอย่างแบบ เจาะจงตามคุณสมบัติที่กำหนด เก็บข้อมูลโดยใช้แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถาม ความปวดที่ผู้วิจัยพัฒนามาจากแบบสอบถามผู้ป่วยของสมาคมความปวดแห่งประเทศสหรัฐอเมริกา และแบบสอบถามวิธีจัดการกับความปวดซึ่งผู้วิจัยสร้างขึ้นเองจากการทบทวนวรรณกรรมที่ เกี่ยวข้อง ผลการวิจัยพบว่า 1) ในวันแรกหลังผ่าตัดผู้ป่วยมีค่าเฉลี่ยของความปวดสูงสุดอยู่ใน ระดับสูง ส่วนในวันที่ 2 และ 3 หลังผ่าตัดผู้ป่วยมีค่าเฉลี่ยของความปวดสูงสุดอยู่ในระดับต่ำ 2) วิธีการจัดการกับความปวดที่ผู้ป่วยใช้มากที่สุดคือ พลิกตัวให้อยู่ในท่าที่สบาย วิธีจัดการกับ ความปวดที่แพทย์และพยาบาลใช้มากที่สุดคือ ให้ความสนใจและถามถึงอาการปวด สำหรับวิธี จัดการกับความปวดด้วยยาพบว่า ในวันแรกหลังผ่าตัดผู้ป่วยได้รับยาเพทิดีนและยาไดนาสแตท ชนิดฉีด และกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่รับรู้ว่ายาช่วยบรรเทาความปวดได้ในระดับสูง 3) ความปวด รบกวนการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันหลังผ่าตัดในด้านการไอและการหายใจเข้าออกลึกๆ การเคลื่อนไหว การนอนหลับ อารมณ์ การทำกิจกรรมอื่นๆ และการมีสัมพันธภาพกับบุคคลอื่นในระดับต่ำ และ 4) ผู้ป่วยมีความพึงพอใจกับวิธีการจัดการกับความปวดที่ได้รับ จากแพทย์ และพยาบาลโดย รวมในระดับสูงen_US
dc.description.abstractThis descriptive research aimed to explore 1) pain after total abdominal hysterectomy in the first 3 days, 2) pain management methods, 3) the relationship of pain and activities of daily living, and 4) satisfaction of patients with pain management. Symptom management was used as conceptual framework. The sample consisted of patients admitted in the gynecological ward and private obstetrics ward at Ramathibodi Hospital from October to November 2006. There were 110 participants chosen by purposive sampling. Data were collected using the Demographic Questionnaire, the Pain Questionnaire, which was modified by the researchers from the Patient Questionnaire of the American Pain Society Quality of Care Committee, and the Pain Management Questionnaire developed by the researchers on the basis of literature review. The results revealed that: 1) on postoperative Day 1, the participants had an average of the highest pain in high level, while there was a low level on postoperative Day 2 and Day 3; 2) most pain management methods used in the participants included turning their position for comfort, while pain management methods that doctors and nurses used most included paying attention to and asked about patients’ pain. For pharmacological pain management, it was found that on postoperative Day 1, in the participants received pethidine and Dynastat® injection, they perceived that those medications could relieve their pain with the high level; 3) pain disturbed their activities of daily living after surgery in relation to coughing and deep breathing, movement, sleep, emotion, other activities, relationship with other persons at a low level; and 4) patients had satisfaction with the pain management that they received from doctors, nurses and over all at a high level. This study provides basic information for healthcare providers to find ways to relieve pain in patients undergoing total abdominal hysterectomy.en_US
dc.identifier.citationรามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 15, ฉบับที่ 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2552), 327-343en_US
dc.identifier.issn0858-9739 (Print)
dc.identifier.issn2672-9784 (Online)
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/52542
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderภาควิชาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectความปวดen_US
dc.subjectการจัดการกับความปวดen_US
dc.subjectความพึงพอใจต่อการจัดการกับความปวดen_US
dc.subjectการผ่าตัดมดลูกออกทางหน้าท้องen_US
dc.subjectPainen_US
dc.subjectPain Managementen_US
dc.subjectSatisfaction with pain managementen_US
dc.subjectTotal abdominal hysterectomyen_US
dc.titleการจัดการกับความปวด และความพึงพอใจต่อการจัดการกับความปวดในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดมดลูกออกทางหน้าท้องen_US
dc.title.alternativePain Management and Satisfaction with Pain Management in Patients Undergoing Total Abdominal Hysterectomyen_US
dc.typeArticleen_US
dspace.entity.typePublication

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ra-ar-mayuree-2552.pdf
Size:
376.09 KB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections