Publication:
ปัจจัยที่ส่งผลต่อสุขภาพจิตของผู้สูงอายุ

dc.contributor.authorรศรินทร์ เกรย์en_US
dc.contributor.authorณัฐจีรา ทองเจริญชูพงศ์en_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยประชากรและสังคมen_US
dc.date.accessioned2014-08-26T07:01:05Z
dc.date.accessioned2017-10-25T09:27:19Z
dc.date.available2014-08-26T07:01:05Z
dc.date.available2017-10-25T09:27:19Z
dc.date.created2557-08-26
dc.date.issued2555-03
dc.description.abstractผู้สูงอายุทีมีปัญหาสุขภาพจิต ส่งผลต่อความเสี่ยงการเกิดภาวะทุพลภาพและภาวะการตาย ดังนั้น การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพจิตของผู้สูงอายุไทย โดยใช้ข้อมูลจากการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2554 ของสำนักงานสถิติแห่งชาติ พบว่ามีประชากรตัวอย่างอายุ 60 ปีขึ้นไปจำนวน 6,952 คน สุขภาพจิตวัดโดยชุดข้อถามสั้นจำนวน 15 ข้อของกรมสุขภาพจิต (TMHI.15) ผลการศึกษาโดยสถิติถดถอยแบบพหุ พบว่าปัจจัยทางประชากร ได้แก่ อายุ และสถานภาพสมรส ปัจจัยทางเศรษฐกิจและสังคม ได้แก่ การศึกษา การทำงาน เศรษฐานะของครัวเรือน และปัจจัยทางสุขภาพ ได้แก่ การรับรู้ภาวะสุขภาพ การปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน ประเภทของสวัสดิการรักษาพยาบาล และการออกกำลังกาย ส่งผลต่อสุขภาพจิตของผู้สูงอายุอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ดังนั้น นโยบายการให้โอกาสผู้สูงอายุในการทำงาน การลดความเหลื่อมล้ำ ของสวัสดิการรักษาพยาบาล และการส่งเสริมการออกกำลังกายที่เหมาะสมกับวัย จึงควรได้รับการส่งเสริมen_US
dc.identifier.citationวารสารประชากร. ปีที่ 3, ฉบับที่ 2 (2555), 43-63en_US
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/2952
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectความสุขen_US
dc.subjectผู้สูงอายุen_US
dc.subjectสุขภาพจิตen_US
dc.titleปัจจัยที่ส่งผลต่อสุขภาพจิตของผู้สูงอายุen_US
dc.title.alternativeDeterminants of mental health among older personsen_US
dc.typeArticleen_US
dspace.entity.typePublication

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
pr-ar-natjera-2555.pdf
Size:
634.27 KB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Plain Text
Description:

Collections